งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน มีนาคม 50 กรมอนามัย

2 1. บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ศึกษาวิเคราะห์วิจัยและปัญหา องค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำ บริโภคให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตคนไทย พัฒนาและจัดทำเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำสะอาด เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกลไกการดำเนินงานให้เป็นไปตามกฏหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง พัฒนา ผลักดันและปรับปรุงให้เกิดนโยบายสาธารณะ และกฏหมายที่จำเป็นด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยบี และพัฒนาหลักสูตรด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภคให้กับภาคีเครือข่ายเพื่อให้เกิดการผลักดันให้งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำบริโภคเป็นไปตามมาตรฐานและกฏหมายแก่ประชาชนอย่างดีและมีคุณภาพ

3 1. บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
1. บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ จัดการสนับสนุนและพัฒนาระบบเครือข่ายในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภคในทุกระดับ ทุกภาคส่วนในการให้ข้อมูลการเฝ้าระวัง การติดตามสถานการณ์และการร่วมดำเนินงานปรับปรุงสถานการณ์สุขาภิบาลอาหาร ภายในประเทศให้เป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานงานสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค รวมไปถึงระบบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นำไปสู่การพัฒนานโยบายกฎหมาย และการมีคุณภาพของระบบการดำเนินงาน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารงานสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ผ่านระบบต่าง ๆ

4 2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร
2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร การจำหน่ายอาหาร การอบรมผู้ประกอบการ ส่งเสริมจัดตั้งชมรม การรณรงค์เผยแพร่ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ สนับสนุนแหล่งเงินทุน สนันสนุนการปรับปรุงสถานประดอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน การตรวจแนะนำ กายภาพ ชีวภาพ สถานประกอบการ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารโรงเรียน ตลาดสด ได้มาตรฐาน ไม่ได้มาตรฐาน ความรู้ ฯ ค้าอาหาร การสุ่มประเมิน การรับรองมาตรฐาน (CFGT. ตลาดสดน่าซื้อ)

5 2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร
2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร อาหารถุง อบรม ผู้ประกอบการ ตรวจแนะนำ สถานประกอบการ + มากกว่า 30% ในตลาด สุ่มประเมิน 30 % ของตลาดประเภทที่ 1 ตรวจ ทางชีวภาพ + น้อยกว่า 30% สุ่มประเมินเป็นระยะ

6 3. ปัญหาของการดำเนินการด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร
3. ปัญหาของการดำเนินการด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร ในการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำในปัจจุบันมีเฉพาะรบบรายงานผลการดำเนินงานเท่านั้น ยังขาดระบบสารสนเทศในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหาร ตามคำสั่งกรมอนามัยที่ 1534/2549 แต่งตั้งคณะทำงานหน่วยปฎิบัติการเฉพาะกิจเคลื่อนที่เร็วกรมอนามัย ซึ่งเป็นการดำเนินงานเพื่อแก้ไขเมื่อภาวะฉุกเฉินโรคระบาด ภัยธรรมชาตและอื่น ๆ เป็นการดำเนงานเฉพาะกรณี ขาดการวางแผนการจัดระบบงานที่ดี การดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นการดำเนินงานเชิงรับ ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านความไม่ปลอดภัยอาหาร

7 4. จุดแข็ง – จุดอ่อน ของการดำเนินงาน
4. จุดแข็ง – จุดอ่อน ของการดำเนินงาน กระแสการตื่นตัวในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร มีพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ หมวด 7 หมวด หมวด 9 รองรับการดำเนินงาน การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร มีอยู่ในตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด จังหวัดให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย และโครงการตลาดสดน่าซื้อ มีภาคีเครือข่ายชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร, ชมรมผู้ประกอบการ/เจ้าของตลาด และชมรมผู้ขายของในตลาด

8 จุดอ่อน ไม่มีการเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างเป็นระบบ การดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะกรณี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความสำคัญในด้านการจัดเก็บรายได้จากสถานประกอบการมากกว่าการพัฒนามาตรฐานสถานประกอบการ การเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในเก็บตัวอย่างและการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google