งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 1. พัฒนาศักยภาพประชาชนในประเทศให้เป็น บุคคลที่มีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองมีนิสัยใฝ่รู้แสวงหาความรู้ตลอดเวลา 2. การพัฒนาเครื่องมือการเรียนรู้ให้แก่ประชาชน ให้มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง

2 3. การพัฒนาความเชื่อมโยงการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
4. เป็นการพัฒนาชุมชนให้มีรากฐานที่ยั่งยืน สามารถ พึ่งพาตนเองได้ 5. พัฒนาการมีส่วนร่วมขององค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. เป็นการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันกับสังคมโลกที่ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

3 บทบาทของครูอาสา กศน. กับการจัดและส่งเสริมตลอดชีวิต
บทบาทของครูอาสา กศน. กับการจัดและส่งเสริมตลอดชีวิต 1. จัดการเรียนการสอนให้กับผู้ไม่รู้หนังสือตามเกณฑ์ที่ สำนักงบประมาณกำหนดไม่น้อยกว่าภาคเรียนละ 35 คน

4 ในกรณีผู้ที่ไม่รู้หนังสือในพื้นที่ที่รับผิดชอบมีไม่ถึง เกณฑ์ให้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเรียนรู้ ให้กับนักศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 60 คน

5 2. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงาน ทำอย่างยั่งยืน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 3. ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของ กศน.อำเภอหรือเขต 4. ผู้ตรวจการดำเนินงาน กศน.ตำบลหรือแขวง 5. งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

6 วัฒนธรรมองค์กรคืออะไร

7 พฤติกรรมที่สร้างขึ้นจากคนในองค์กรโดยมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และยึดถือปฏิบัติกันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในองค์กรนั้น ๆ และกลายเป็นค่านิยมร่วมกันในองค์กร

8 ปัญหาของวัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับการ ทำงาน
ปัญหาของวัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับการ ทำงาน

9 1. องค์กรของเขาดีอยู่แล้วไม่เห็นจะมี ปัญหาที่ตรงไหนเลย 2
1. องค์กรของเขาดีอยู่แล้วไม่เห็นจะมี ปัญหาที่ตรงไหนเลย 2. ไม่สนใจผู้รับบริการ 3. ไม่คิดที่จะพัฒนาการทำงานหรือ บริการใหม่ ๆ ออกมา 4. รอให้ “เบื้องบน” สั่งมาเพียงอย่างเดียว

10 5. ผู้นำและพนักงานคิดแต่จะทำงานด้าน ปฏิบัติการหรือธุรการเป็นงานหลัก 6
5. ผู้นำและพนักงานคิดแต่จะทำงานด้าน ปฏิบัติการหรือธุรการเป็นงานหลัก 6. ผู้นำเสียเวลามากกับการจ้ำจี้จ้ำไชพนักงาน ที่ขาดคุณภาพ ไม่มีเวลาไปใส่ ใจกับ พนักงานที่ทำงานดี 7. ผู้นำไม่สามารถนำการเปลี่ยนแปลงให้เกิด เป็นรูปธรรมขึ้นในองค์กรได้

11 วัฒนธรรมองค์กรที่ดี

12 1. การสื่อสารอย่างเปิดเผย 2. การทำงานเป็นทีม 3
1. การสื่อสารอย่างเปิดเผย 2. การทำงานเป็นทีม 3. การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่สิ้นเปลือง 4. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 5. ใช้ความรู้ความสามารถ

13 การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีและมีคุณภาพ

14 วัฒนธรรมองค์กรที่มีคุณภาพ (Quality Culture) 1

15 1. ค่านิยม

16 1. คุณค่าผลงานกำหนดจากความพึงพอใจ ของผู้รับผลงานนั้นไปใช้ 2
1. คุณค่าผลงานกำหนดจากความพึงพอใจ ของผู้รับผลงานนั้นไปใช้ 2. มีจริยธรรม ซื่อสัตย์ ซื่อตรง ไม่เอารัดเอา เปรียบผู้รับบริการและเพื่อนร่วมงาน 3. ศึกษาหาความรู้ พัฒนาความสามารถและ ปรับปรุงทัศนคติของตนเองตลอดเวลา

17 2. สไตล์การทำงาน

18 1) ทำงานโดยมีการวางแผน มีเป้าหมายที่ ชัดเจน ปรับปรุงให้ดีขึ้นตลอดเวลา (P-D-C-A) 2) ใช้ความรู้ ความมีเหตุผล ความรอบคอบ และข้อมูลจริงในการทำงานทุก ๆ อย่าง 3) มุ่งมั่นที่จะบรรลุผลสำเร็จอย่างอดทน ไม่ ย่อท้อต่ออุปสรรค

19 3. พฤติกรรมในการทำงาน

20 1) ร่วมมือกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เรียนรู้และรับฟังความคิดเห็นจาก เพื่อนร่วมงาน 2) เป็นนักแก้ปัญหา มิใช่เป็นนักสร้าง ปัญหา 3) มีความสามารถสื่อสาร สุ-จิ-ปุ-ลิ

21 วัฒนธรรมองค์กรของสำนักงาน กศน.

22 วัฒนธรรมองค์กร สำนักงาน กศน.
ภายใต้การนำของ นายประเสริฐ บุญเรือง เลขาธิการ กศน. ได้ปลูกฝั่งวัฒนธรรมการทำงานที่มีคุณภาพ อันเป็นหัวใจสำคัญดังนี้

23 “การปฏิบัติงานที่ดี ต้องได้ทั้งคน และงานโดยไม่เสีย หลักการ”
1. ค่านิยม “การปฏิบัติงานที่ดี ต้องได้ทั้งคน และงานโดยไม่เสีย หลักการ”

24 2.สไตล์การทำงาน “ คนสำราญ งานสำเร็จ ”

25 3.พฤติกรรมใน การทำงาน

26 1.ตั้งมั่นใน บริการ

27 2.มุ่งมั่นในการ ทำงาน

28 3.เชื่อถือในคุณค่า ของตน

29 4.ยึดมั่นในความ รับผิดชอบ ต่อผู้เรียน
4.ยึดมั่นในความ รับผิดชอบ ต่อผู้เรียน

30 5. มีจิตสำนึกในการทำงานเป็นทีม โดยมีเป้าหมายร่วมกันที่ชัดเจน
5. มีจิตสำนึกในการทำงานเป็นทีม โดยมีเป้าหมายร่วมกันที่ชัดเจน


ดาวน์โหลด ppt การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google