งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Interoperable ICT system and Open Data Format

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Interoperable ICT system and Open Data Format"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Interoperable ICT system and Open Data Format
โดย ดร.ปิยวุฒิ ศรีชัยกุล National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC) National Science and Technology Development Agency (NSTDA)

2 หัวข้อการบรรยาย Interoperable ICT system ความหมาย หลักการ กรอบการทำงาน
Open Data Format Open Data Format คือ ? Open Document Format (ODF) & Open XML ตัวอย่างการพัฒนาต่อยอด

3 ความหมายของ Interoperability
Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE, USA) "the ability of two or more systems or components to exchange information and to use the information that has been exchanged" Interoperable Delivery of European e-Government Services to public Administrations, Businesses and Citizens (IDABC, Europe) "the ability of information and communication technology (ICT) systems ... to exchange data and enable the sharing of information and knowledge."

4 หลักการของ Interoperability
การออกแบบระบบต้องสนับสนุนให้สามารถทำงานร่วมกันได้ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันจะต้องอยู่ภายใต้กรอบข้อตกลงการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ การกำหนดนโยบายและการพัฒนาระบบสารสนเทศให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ จะต้องคำนึงถึงแนวปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้วย อยู่บนพื้นฐานของ Open Standard กล่าวคือ สามารถทำงานได้อิสระบนระบบปฏิบัติการหลายระบบ, สามารถหานำมาอ่านได้ทั่วไป(เปิดเผย) และ นำมาพัฒนาใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใบอนุญาต หรือมีค่าใช้จ่ายน้อยมาก เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด

5 Interoperability Framework
ใช้ XML เป็นสื่อกลาง ในการสื่อสาร กำหนด metadata ของข้อมูล e-Government Interoperability Framework (e-GIF) กำหนดแนวทางในการนำ มารตรฐาน(เปิด) ในประยุต์ใช้ เป็นไปตามนโยบายและ คุณลักษณะด้านเทคนิค ใน e-GIF Registry สามารถเรียกใช้งาน ผ่าน Browser มาตรฐาน metadata มาตรฐานกลุ่มข้อมูล บัญชี XML Schema มาตรฐานด้านเทคนิค e-GIF เป็นกรอบของการพัฒนาระบบ ICT ของหน่วยงานภาครัฐให้สามารถทำงานร่วมกันได้ โดยการกำหนดนโยบายและกฏเกณฑ์ รวมถึงจัดหาทรัพยากรและเครื่องมือ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการทำร่วมกันได้ระหว่างระบบต่าง ซึ่งรายละเอียดของ e-GIF ประกอบด้วย ใช้ภาษา XML ในการจัดทำมาตรฐานข้อมูลที่จะแลกเปลี่ยนและจัดเก็บ ข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐจะต้องมีการกำหนด metadata เพื่อให้เข้าใจนิยามของข้อมูลร่วมกันเมื่อต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบ หรือหน่วยงาน ระบบสารสนเทศที่พัฒนาจะต้องเป็นไปตามนโยบายและคุณลักษณะด้านเทคนิคที่ประกาศไว้ใน e-GIF Registry ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐาน metadata เช่น ชื่อข้อมูล เจ้าของข้อมูล วันที่ของข้อมูล เป็นต้น โดยจะต้องมีการกำหนดนิยามของข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน มาตรฐานกลุ่มข้อมูล บัญชี XML Schema มาตรฐานด้านเทคนิค ได้แก่ รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล(Data Format), วิธีการสร้างแบบจำลองข้อมูล(Data Model), กระบวนการปฏิบัติการข้อมูล(Data Process), โปรโตคอลการรับส่งข้อมูล, มาตรฐานความเชื่อถือและความปลอดภัย(Reliability Standard), มาตรฐานกระบวนการปฏิบัติการร่วม(Transaction Standard) ระบบสารสนเทศต่างๆ ที่พัฒนาตามกรอบการแลกเปลี่ยนข้อมูลของภาครัฐ ต้องสามารถเรียกใช้งานผ่าน Browser วิธีการนำเอามาตรฐานกลางต่างๆ ที่กำหนดไว้ มาใช้ในการรับส่งข้อมูลกันระหว่างระบบฯ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของการทำ e-GIF NZ E-government Interoperability Framework: AU E-government Interoperability Framework: UK E-government Interoperability Framework:

6 UK e-GIF ตัวอย่าง Schema Library ที่ UK ประกาศ

7 Open Data Format ? Published specification
Free of legal restrictions on use Proprietary (Open XML, PDF, …) Goal 1st: to guarantee long-term access 2nd: to enable competition Implementation Open Data Format Free/Open Source (ODF, XML, TXT, HTML/XHTML, PNG, SVG, 7z …) Open Data Format คือรูปแบบหรือคุณลักษณะของการจัดเก็บข้อมูลที่เปิดเผย ไม่มีการจำกัดสิทธิในการใช้งาน โดยปกติจะมีหน่วยงานมาตรฐานเป็นให้การรับรอง Open Data Format ถือได้ว่าเป็น subset ของ Open Standard และสามารถ implement ได้ทั้งใน Proprietary SW (ตัวอย่างเช่น Microsoft 2007 ใช้มาตรฐาน Open XML) และ Open Source SW (ตัวอย่างเช่น OpenOffice ใช้มาตรฐาน ODF) เป้าหมายของ Open Data Format เป้าหมายหลัก: สามารถรับประกันได้ว่าข้อมูลที่จัดเก็บสามารถเปิดอ่านได้ในภายหลัง โดยไม่ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เป้าหมายรอง: ทำให้เกิดการแข่งขัน และป้องกันการผูกขาดโดยผู้ขายรายใดรายหนึ่ง ตัวอย่างอื่นๆ ของ Open Data Format PDF (for documents) LaTeX (a document markup language) DVI (a page description language) TXT (an unformatted text format) HTML/XHTML (a markup language) OpenEXR (an image format) PNG (an image format) SVG (an image format) FLAC (an audio format) Ogg - Ogg Vorbis (an audio format) & Ogg Theora (a video format) XML (a markup language) 7z (data compression format)

8 ODF & Open XML ODF Open XML เริ่มพัฒนาโดย มาตรฐาน Softwate Content
Sun's OpenOffice.org 1.0 format Microsoft มาตรฐาน OASIS และ ISO (ISO 26300) ECMA  ISO Softwate OpenOffice, KOffice, AbiWord, WordPerfect Microsoft Office 2007 Content ทั้งสองเป็นเอกสารที่ประกอบด้วยข้อมูล XML ซึ่งถูกจัดเก็บรวมกันใน รูปแบบของ zip file

9 ตัวอย่างการพัฒนาต่อยอด
กระบวนการทำงานแบบเดิม สร้างเอกสาร Program A Program B เปิดด้วย Program? DB File เอกสาร ทั้งหมด Printout โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เพื่อดึงข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแบบฟอร์มที่สร้างขึ้น มาใช้งาน ซึ่งวิธีการ implement ทำได้ 2 แบบคือ เขียนเป็น Macro ที่สามารถประมวลผลภายในเอกสาร ODF ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถทำงานได้อิสระ ไม่จำเป็นต้องลงโปรแกรมอื่นๆ เขียนเป็น .exe แยกอิสระจากเอกสาร ODF ซึ่งมีข้อดีคือลดขนาดของเอกสาร ODF Program A Program B Key in ระบบ online รับเอกสาร แบบฟอร์ม

10 ตัวอย่างการพัฒนาต่อยอด (ต่อ)
สร้างแบบฟอร์ม (Offline) + Input Script [Macro] Script [.exe] Data.xml โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เพื่อดึงข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแบบฟอร์มที่สร้างขึ้น มาใช้งาน ซึ่งวิธีการ implement ทำได้ 2 แบบคือ เขียนเป็น Macro ที่สามารถประมวลผลภายในเอกสาร ODF ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถทำงานได้อิสระ ไม่จำเป็นต้องลงโปรแกรมอื่นๆ เขียนเป็น .exe แยกอิสระจากเอกสาร ODF ซึ่งมีข้อดีคือลดขนาดของเอกสาร ODF DB Data.xml ระบบ online

11 Thank you


ดาวน์โหลด ppt Interoperable ICT system and Open Data Format

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google