ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Unix: basic command
2
find เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาแฟ้มข้อมูล โครงสร้างคำสั่ง
find [path].. expression ลักษณะของ expression เช่น -name [pattern] เพื่อใช้หาชื่อ file ตาม pattern ที่ระบุ ตัวอย่าง find -name “*.doc”
3
ls เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ dir) มากจากคำว่า list โครงสร้างคำสั่ง ls [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน ls คือ -l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย -a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด -F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้ ตัวอย่าง ls -l ls -F ls /usr/bin
4
rmdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการลบ directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า remove directory โครงสร้างคำสั่ง rmdir แก[file]... ตัวอย่าง rmdir /home
5
chmod : change permissions
เป็นคำสั้งที่ใช้เปลี่ยนสิทธิของไฟล์ 0 หมายถึง ทำอะไรไม่ได้กับแฟ้มนั้นเลย 1 หมายถึง ประมวลผลอย่างเดียว 2 หมายถึง เขียนได้อย่างเดียว 3 หมายถึง เขียนและประมวลผลได้ 4 หมายถึง อ่านได้อย่างเดียว 5 หมายถึง อ่านและประมวลผลได้ 6 หมายถึง อ่านและเขียน แต่ประมวลผลไม่ได้ 7 หมายถึง ทำได้ทุกอย่าง ทั้งอ่าน เขียน และประมวลผล เช่น # chmod 751 test (Absolute Permission ) 751 คือ ค่าของสิทธิของไฟล์
7
mkdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการสร้าง directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า make directory โครงสร้างคำสั่ง mkdir [file]... ตัวอย่าง mkdir /home
8
cd เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเปลี่ยน directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับ cd) มาจากคำว่า change directory โครงสร้างคำสั่ง cd directory โดย directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้ ตัวอย่าง cd /usr cd ~ (เป็นการเข้าสู่ home directory) cd - (เป็นการยกเลิกคำสั่ง cd ครั้งก่อน) cd .. (เป็นการออกจาก directory 1 ชั้น ข้อควรระวัง : คำสั่ง cd บน UNIX จะต้องมีเว้นวรรคเสมอ
9
pwd เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดง Directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับการพิมพ์ cd บน DOS) มาจากคำว่า print work directory โครงสร้างคำสั่ง / ตัวอย่าง pwd
10
rm เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับลบแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ del) มาจากคำว่า remove โครงสร้างคำสั่ง rm [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน rm คือ -r ทำการลบข้อมูลใน directory ย่อยทั่งหมด -i โปรแกรมจะถามยืนยันก่อนทำการลบ ตัวอย่าง rm –r test/ rm test.doc
11
mv เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการย้ายแฟ้มข้อมูลและ Directory รวมถึงการเปลี่ยนชื่อด้วย (ในทำนองเดียวกับ move) มาจากคำว่า move โครงสร้างคำสั่ง mv source target ตัวอย่าง mv *.tar /backup mv test.txt old.txt mv bin oldbin
12
cp เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับสำเนาแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ copy) มาจากคำว่า copy โครงสร้างคำสั่ง cp source target ตัวอย่าง cp test.txt test1.bak
13
cat เป็นคำสั่งที่ใช้ดูข้อมูลของไฟล์ คล้ายกับ type ใน dos และยังใช้สร้างไฟล์ได้ด้วย ใน ตัวอย่าง # cat named.conf การสร้างไฟล์ # cat > ชื่อไฟล์ พิมพิ์ข้อความลงไป Ctrl+D เพื่อจบไฟล์
14
head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
โครงสร้างคำสั่ง head [option] file โดย option ที่มักใช้กันใน chown คือ -n เพื่อทำการระบุบรรทัดที่ต้องการ (หากไม่ระบุจะเป็น 10 บรรทัด) ตัวอย่าง head data.txt head -n 10 data.txt
15
tail จะแสดงส่วนท้ายของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
โครงสร้างคำสั่ง tail [option] file โดย option ที่มักใช้กันใน chown คือ -n เพื่อทำการระบุบรรทัดที่ต้องการ (หากไม่ระบุจะเป็น 10 บรรทัด) -c เพื่อระบุจำนวน byte ตัวอย่าง tail data.txt tail -n 10 data.txt
16
whoami ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร โครงสร้างคำสั่ง/ตัวอย่าง whoami
17
who ใช้เพื่อแสดงว่ามีผู้ใช้ใดบ้างที่กำลังทำงานอยู่บนระบบ
โครงสร้างคำสั่ง/ตัวอย่าง who
18
finger ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดของผู้ใช้ โครงสร้างคำสั่ง
กรณีไม่ระบุชื่อ finger จะแสดงรายละเอียดของ User ที่กำลัง logon อยู่บนเครื่องนั้นๆ ทั้งหมด ตัวอย่าง finger krerk
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.