ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPreeya Yodsuwan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
2
ทำไมต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงสภาพแวดล้อม
การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลในกระบวนการวางแผนและ บริหารโครงการที่ผ่านมา ยังไม่ได้คำนึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม จากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยเสี่ยงทั้งจากภายในภายนอกที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการ ทำให้ โครงการไม่บรรลุผลผลิตและผลลัพธ์ ส่งผลให้การใช้งบประมาณไม่เกิด ประสิทธิภาพได้ ประชาชนผู้ใช้ประโยชน์จากโครงการ จะไม่ได้รับประโยชน์ ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทั้งภายนอกและภายใน จึงเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้มีการวางแผนเตรียมพร้อม ในการดำเนินการให้ แผนงานโครงการ บรรลุผลลัพธ์ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้
3
ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยง
ระบุปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง (โอกาสและความรุนแรง) เลือกวิธีจัดการความเสี่ยง ติดตาม/ทบทวน
4
ปัจจัยเสี่ยงที่จะกระทบกับความสำเร็จของโครงการ
ความเสี่ยงด้านการเมืองและสังคม ความเสี่ยงด้านการเงินและเศรษฐกิจ ความเสี่ยงด้านกฏหมาย ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี ความเสี่ยงด้านการดำเนินการ ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม/ภัยธรรมชาติ
5
ความเสี่ยงด้านการเมืองและสังคม
( ) ความต่อเนื่องในเชิงนโยบายของรัฐบาล ( ) การแทรกแซงจากบุคคลภายนอก ( ) การร่วมมือเชิงนโยบายระหว่างผู้บริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( ) ความร่วมมือของผู้บริหารภายในองค์การ ( ) ความร่วมมือจากสหภาพแรงงานขององค์กร ( ) ความร่วมมือระหว่างกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( ) อื่น ๆ
6
ความเสี่ยงด้านการเงินและเศรษฐกิจ
( ) ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ( ) ความผันผวนของอัตราเงินเฟ้อ ( ) ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ( ) ความผันผวนของราคาวัตถุดิบ เช่น น้ำมัน วัสดุก่อสร้าง เหล็ก ฯลฯ ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ…...…….
7
ความเสี่ยงด้านกฎหมาย
( ) ความคลุมเครือของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ( ) การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบต่าง ๆ ( ) ความไม่มั่นใจในการบังคับใช้กฎหมาย ( ) กฎหมายไม่ครอบคลุม ( ) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่ล้าหลังไม่ทันสมัย ไม่ทันการเปลี่ยนแปลง ( ) การเปลี่ยนแปลงมติที่เกี่ยวข้อง ( ) อื่น ๆ
8
ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี
( ) การเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม ( ) การล้าหลังของเทคโนโลยีเนื่องจากมีเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ( ) ความผิดพลาดของเทคโนโลยีที่ใหม่จนเกินไป ( ) อื่น ๆ
9
ความเสี่ยงด้านการดำเนินการ
( ) การขาดแคลนบุคลากร ( ) การขาดแคลนทรัพยากร ( ) การขาดแคลนวัตถุดิบ ( ) ความไม่แน่นอนของความต้องการ (อุปสงค์) ของผลผลิต โครงการในตลาด ( ) ความไม่แน่นอนของการได้รับงบประมาณในแต่ละปี ( ) ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณตามที่เสนอโครงการ ( ) การเปลี่ยนแปลงบุคลากรที่ดำเนินการ ( ) กลไกในการดำเนินงานไม่เหมาะสม ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ…...…….
10
ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม/ภัยธรรมชาติ
( ) การก่อความไม่สงบ ( ) สงคราม ( ) น้ำท่วม ( ) พายุไต้ฝุ่น ( ) โคลนถล่ม ( ) แผ่นดินไหว ( ) ภัยแล้ง ( ) โรคระบาด ( ) อื่น ๆ
11
การวิเคราะห์ความเสี่ยง
มิติในการประเมินความเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน โอกาสในการเกิดความเสี่ยง สูง หรือ ต่ำ ระดับความรุนแรง ยอมรับได้ ยอมรับไม่ได้ ความสามารถในการบริหารจัดการ * จัดการได้ หมายถึง การจัดการความเสี่ยงจนระดับความรุนแรงอยยู่ในระดับที่ยอมรับได้ จัดการได้* จัดการไม่ได้
12
การประเมินความเสี่ยง
โอกาสในการเกิดความเสี่ยง ต่ำ สูง สูง (ยอมรับไม่ได้) โอกาสในเกิด (ต่ำ) ผลกระทบ (สูง ยอมรับไม่ได้) โอกาสในเกิด (สูง) ผลกระทบ (สูงยอมรับไม่ได้) ผลกระทบ (ต่ำ ยอมรับได้) ความรุนแรง ของผลกระทบ ต่ำ (ยอมรับได้)
13
ลดความเป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์
การจัดการความเสี่ยง หมายถึง แนวทางการบริหารจัดการเพื่อ ลดความเป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ ที่ตรงข้ามกับที่คาดการณ์ไว้ (adverse event) ลดขนาดของการสูญเสีย อันเนื่องจาก adverse event
14
ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (1)
ลดความรุนแรงของความเสี่ยง (Risk Reduction) ลดระดับความรุนแรง ลดความเป็นไปได้ในการเกิด การโอนถ่ายความเสี่ยง (Risk Transfer) โอนถ่ายโดยใช้สัญญา (Contractual Transfer) เช่น จ้างผู้ดำเนินการภายนอก (outsourcing) โอนถ่ายโดยใช้การทำประกัน (Insurance)
15
ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (2)
การแบ่งรับความเสี่ยง (Risk Sharing) คือ การถ่ายทอดความเสี่ยงบางส่วนให้ผู้อื่น/หน่วยงานอี่นร่วมกับผิดชอบ เมื่อเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงขึ้นจะต้องรับผิดชอบผลกระทบร่วมกัน ซึ่งการแบ่งรับความเสี่ยงอาจจะทำได้โดยกลไกของสัญญา เช่น หน่วยงานเจ้าของโครงการอาจจะกำหนดไว้ในสัญญาจ้างว่า หากผลกระทบจากความเสี่ยงบางตัว (ต้นทุนที่ผันผวน เป็นต้น) ที่เกิดขึ้น คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมกันรับผิดชอบ การกระจายความเสี่ยง (Risk Diversification) คือ การใช้วิธีการดำเนินงานโครงการที่สามารถทำให้ความเสี่ยงกระจายออกเป็นหลายส่วน ซึ่งจะทำให้ความเสี่ยงที่แบ่งออกเป็นหลายภาคส่วนเหล่านั้น มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน เช่น การใช้วัตถุดิบจากแหล่งผลิตหลายแหล่ง การใช้เทคโนโลยีหลากหลายแบบ เป็นต้น
16
ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (3)
การแบกรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) คือ การที่หน่วยงานเจ้าของโครงการแบกรับความเสี่ยงไว้จัดการเองภายในหน่วยงาน การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) ความเสี่ยงที่ไม่สามารถใช้วิธีการต่าง ๆ ข้างต้นในการจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรจะใช้วิธีการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง เช่น การหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีความเสี่ยง เปลี่ยนวิธีการดำเนินการที่ใช้อยู่เป็นวิธีอื่น เป็นต้น นอกจากแนวทางการจัดการความเสี่ยงดังกล่าวข้างต้น การจัดการความเสี่ยงยังรวมถึงการสร้างระบบเฝ้าระวัง มีสัญญาณเตือนภัย รวมถึงการมีแผนฉุกเฉิน (เช่น แผนอพยพ เป็นต้น) รองรับการดำเนินการด้วย
17
จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.