ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สายใยรักแห่งครอบครัว
ตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 1
2
เกิด เด็ก หนุ่ม รับปริญญา ทำงาน ตาย เจ็บป่วย แก่ชรา แต่งงาน เลี้ยงลูก
บทบาท หน่วยงานสาธารณสุขคือการพัฒนา“คนตั้งแต่ก่อนปฏิสนธิในครรภ์มารดา เด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ” เกิด เด็ก หนุ่ม รับปริญญา ทำงาน ตาย เจ็บป่วย แก่ชรา แต่งงาน เลี้ยงลูก 2
3
ความเชื่อมโยง ของกรอบการดำเนินงานเพื่อพัฒนาแม่และเด็ก
สุขภาวะแม่และเด็ก ชุมชนต้นแบบ /ตำบลนมแม่ รพ.สายใยรัก ฯ จุดเริ่ม พฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ขยายแนวคิดสู่ รพ.สต.
4
กรอบแนวคิดพัฒนาการเด็กสมวัย
ลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา รายได้ อาชีพ ความรู้และเจตคติพัฒนาการ สถานภาพสมรส ลักษณะครอบครัว สัมพันธภาพในครอบครัว พฤติกรรมการอบรมเลี้ยงดูเด็ก การสร้างปฏิสัมพันธ์ การเล่านิทาน ร้องเพลงกล่อมเด็ก เล่นกับเด็ก เป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก การให้นมแม่ ความยากง่ายในการเลี้ยงดูเด็ก ระบบบริการ ของสถานบริการ เกณฑ์คุณภาพ พัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี สมวัย ตัวเด็ก น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ภาวะโภชนาการ ขาดสารอาหาร การเจ็บป่วย เจ็บป่วยบ่อย อุบัติเหตุ (ความปลอดภัย) โอกาสของการได้เรียนรู้ การมีส่วนร่วมส่งเสริมพัฒนาการ ครอบครัว ชุมชน องค์กรต่างๆ ในชุมชน ความยากง่าย ของการเข้ารับบริการ เช่น การเดินทาง การเข้าถึงบริการ 4
5
คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ณ สถานีอนามัย หรือ รพ.สต.
คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ณ สถานีอนามัย หรือ รพ.สต. ปรึกษาก่อน แต่งงาน สืบสานดูแลครรภ์ รับขวัญเมื่อ แรกคลอด ยอดอาหารต้องนมแม่ พ่อ แม่ ศูนย์เรียนรู้ สู่ปัญญา เด็กพัฒนา สมวัย ปู่ ย่า ตา ยาย ลูก ลูก ย้ำกระตุ้นสุขภาพ วัยทำงาน ช่วยกันสานเพิ่มคุณค่าผู้สูงวัย เอาใจหนุนเมื่อวัยรุ่น ดีแน่แท้พัฒนาสมวัย
6
ต่างที่จุดทำ...นำสู่เป้าหมายเดียวกัน
สรุปกระบวนการขับเคลื่อน การพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก Mgt ANC LR NICU MCH Board PP ครอบ ครัว WCC ชุมชน ภาคี เครือข่าย ต่างที่จุดทำ...นำสู่เป้าหมายเดียวกัน 4/4/2017 6
7
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก
มาตรฐาน รพ.สายใยรักฯ การประเมินรพ.สายใยรักฯ แนวทาง ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ เครื่องมือพัฒนา สุขภาพแม่และเด็ก เกณฑ์ชุมชน ตำบลนมแม่/ชุมชนต้นแบบ อนามัยแม่และเด็ก แนวทาง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แม่และเด็ก
8
ความจริงที่...ต้องพัฒนาสมองเด็กด้วยนมแม่
แรกเกิด 6 ปี อายุ 3 ปี 80% ของ synaptic connection เกิดขึ้นแล้ว เมื่ออายุ เกิน 10 ปีการเจริญของสมองลดลง การมีประสบการณ์ที่ดีทำให้เกิดการเชื่อมโยงของเส้นใยสมองได้ดีขึ้น
9
ความจริงที่...ต้องพัฒนาสมองเด็กด้วยนมแม่
ช่วง 10 ปีแรกของชีวิตสมองทำงานเป็น 2 เท่าของในผู้ใหญ่ ในช่วง 1 ปีแรกของชีวิต อาหารถูกนำมาใช้เพื่อการเจริญของสมอง 60% ..ดังนั้น อาหารที่ควรส่งเสริมมากสุด คือ นมแม่ และ เมื่อเด็กอายุ 3 ปี อาหารถูกนำมาใช้เพื่อพัฒนาสมอง 30% สิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของเด็ก
10
ความจริงที่...ต้องพัฒนาสมองเด็กด้วยนมแม่
สิ่งแวดล้อมมีผลต่อสติปัญญา 40 – 70 % พันธุกรรม มีผลต่อสติปัญญา (IQ) 30 – 60 % ดังนั้นการเลี้ยงดูที่ถูกต้องมีความ สำคัญมาก สมองสามารถสร้าง เส้นใยประสาทเมื่อถูกกระตุ้นด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีและสมบูรณ์
11
สรุปคุณค่านมแม่ที่เด็กได้รับ
นมแม่ คือ หยดแรกของสายใยรักแห่งครอบครัว ประโยชน์นมแม่ ลูกที่ได้กินนมแม่มีระดับสติปัญญามากกว่าลูกที่ไม่ได้กินนมแม่ จุด เป็นวัคซีนสำเร็จรูป ที่ได้จากแม่ ลดการป่วยจากท้องเสีย ปอดบวม เยื้อหุ้มสมองอักเสบ โรคภูมิแพ้ เบาหวาน ลดโอกาสเกิดโรคภูมิแพ้ทำให้ลูกไม่ป่วยบ่อย ดีกว่าเด็กที่กินนมผสม เท่า เป็นอาหารที่ดีที่สุดของทารก มีไขมันช่วยพัฒนาเซลล์สมอง การพูดคุยกับลูกขณะให้นมแม่ช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการ และความมั่นคงทางอารมณ์ของลูก ประหยัดเงินครอบครัวเฉลี่ยเดือนละ 2,500 บาทต่อเด็ก 1 คน
12
คาดว่า ตำบลนมแม่... จะเป็นคำตอบในเรื่องนี้...
13
ผลลัพธ์ เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักฯ
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร ผลลัพธ์ เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักฯ 1. ชุมชนมีมาตรการสังคม เช่น ฝากท้องเร็ว ลูกกินนมแม่ เล่าหรืออ่านนิทานให้ลูกฟัง 2. ชุมชนเฝ้าระวังปัญหาแม่และ เด็ก เช่น น้ำหนักและ ส่วนสูง หญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี แม่หลังคลอดเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ 3. มีแผนชุมชนตำบลนมแม่ฯ 4. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 60 5 มีกรรมการฯ 6. มีกองทุน สายใยรักแห่งครอบครัวก่อเกิดจากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกิดสายใยผูกพันในครัวเรือนส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการดี -ความร่วมมือของสถานบริการสู่ชุมชนในการดูแลต่อเนื่อง -ประชาชนมีส่วนร่วม/ดูแลสุขภาพตนเองและชุมชนทำให้เกิดความยั่งยืน -เด็กไทย IQ - EQ ดี หมายถึง ตำบลที่มีกระบวนการ ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และ เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่นๆ
14
โรงพยาบาล/ หน่วยบริการ
ตำบลนมแม่ เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชนมีแผนชุมชนนมแม่ ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังให้ลูกกินนมแม่ 3. ชุมชนประกาศกติกาสังคม “เลี้ยงลูกด้วยนมแม่” 4. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็น 60% 5. มีกรรมการ 6.มีกองทุน ท้องถิ่น/ชุมชน ครัวเรือน หน่วยงาน ขับเคลื่อน สนับสนุน ภาคีเครือข่าย “นมแม่” บทบาทการสนับสนุน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิศูนย์นมแม่ กระทรวงแรงงาน กระทรวงพัฒนาสังคมฯ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรฯ
15
แล้วจะทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้..... ได้อย่างไร ?
แล้วจะทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ ได้อย่างไร ? 15
16
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์... เพื่อการขับเคลื่อน ตำบลนมแม่ฯ
จึงเป็นที่มา... กระบวนการจัดทำ... แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์... เพื่อการขับเคลื่อน ตำบลนมแม่ฯ 16
17
แผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ คือ จุดหมายปลายทางกับวิธีการปฏิบัติ ที่จะไปให้ถึงจุดหมายปลายทางนั้น เป็นเครื่องมือทางการบริหารที่มี การระบุองค์ประกอบอย่างชัดเจน จะระบุการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคส่วน เป็นเครื่องมือเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการ ปฏิบัติตามโครงการ
18
บทบาทของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (จุดหมายปลายทาง) ทำอะไรได้ในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ บทบาทของภาคี กระบวนการบริหารจัดการ จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด สมรรถนะขององค์กร จะพัฒนาอะไร
19
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
4 องค์ประกอบหลักและขั้นตอนของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 19
20
องค์ประกอบ/ขั้นตอน ที่ 1
จุดหมายปลายทาง กำหนดเป็น 4 ระดับ
21
การกำหนดจุดหมายปลายทาง
วิเคราะห์สถานการณ์/บริบท การพัฒนาของพื้นที่/องค์กรในปัจจุบัน “ความภาคภูมิใจหรือสิ่งดีดีของเราหรือในชุมชน/ท้องถิ่นเราในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีอะไรบ้างทั้งในเรื่องของบุคคล/สถานที่/หน่วยงานที่มาช่วยพัฒนา/สื่อวัสดุอุปกรณ์“ และความคาดหวังที่อยากให้เกิดขึ้นในอนาคต “เรา(ชุมชน/ท้องถิ่น)อยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือมีผลการพัฒนาอะไร? เกิดขึ้นในองค์กรและพื้นที่ของเรา” 21
22
การที่จะเป็นตำบลนมแม่ ในชุมชนของเรา....เป็นอย่างไร
การประเมินสถานการณ์ : เราอยู่ตรงไหนของการพัฒนา การที่จะเป็นตำบลนมแม่ ในชุมชนของเรา....เป็นอย่างไร อะไรคือสิ่งดี สิ่งที่เราภาคภูมิใจ และ อะไรคือ สิ่งที่ต้องการในอนาคต 3-5 ปีข้างหน้า (ที่ดีกว่าเดิม)
23
การวิเคราะห์สถานการณ์
สิ่งดีๆ ปัจจุบันเป็นอย่างไร สิ่งดีๆ ปัจจุบันอย่างไร ประชาชน กระบวนการ อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว สิ่งดีๆ ปัจจุบันอย่างไร สิ่งดีๆ ปัจจุบันอย่างไร อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร ภาคีเครือข่าย รากฐาน
24
การสร้างแผนที่ความคิด(Mind Map)
จากการวิเคราะห์สถานการณ์อดีตถึงปัจจุบัน /พร้อมความคาดหวังในอนาคต
25
จากนั้น... นำความคาดหวังจาก แผนที่ความคิด ลงในผังจุดหมายปลายทางใน 4 มิติ/มองมอง
26
กระบวนการ ประชาชน ภาคีเครือข่าย รากฐาน
ผังจุดหมายปลายทาง “ ”ภายในปี ประชาชน กระบวนการ ภาคีเครือข่าย รากฐาน
27
ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีการดำเนินงาน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด(มีแผนชุมชน/มีข้อมูลระบบเฝ้าระวัง/มีกติกาทางสังคม/กรรมการกองทุน/มีอัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็นร้อยละ 60) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักฯ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ●อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ●หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาท แบบบูรณาการ ●องค์กรชุมชน/ผู้นำชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) ●มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนงาน/โครงการดำเนินงาน“ตำบลนมแม่” พร้อมกำกับอย่างมีประสิทธิภาพ ●มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์หลายรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ●มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ●มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ ระดับพื้นฐานองค์กร/ชุมชน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) ●มีระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและสามารถเข้าถึงได้ง่าย ●มีความรู้และทักษะที่เหมาะสมในดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ ●มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อให้ถูกต้องต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●มีการทำงานเป็นทีมแบบสหวิชาชีพ 27
28
ขั้นตอนที่ 2 : ของการสร้าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ขั้นตอนที่ 2 : ของการสร้าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แผนที่ SLM 28
29
นำความคาดหวังจากจุดหมายปลายทางใน 4 มิติ/มองมอง
นำความคาดหวังจากจุดหมายปลายทางใน 4 มิติ/มองมอง...ลงในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SLM)
30
ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 มีความเข้มแข็งและต่อเนื่องในการดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ความยั่งยืน ชุมชน/ท้องถิ่นพัฒนา“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด ประชาชน ชุมชน/ท้องถิ่น มีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาทแบบบูรณาการ องค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ภาคี อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มและเครือข่าย กำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ กระบวนการ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ จัดระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พื้นฐาน สร้างความรู้และทักษะบุคลากรทุกระดับ สร้างทีมดำเนินงาน “ตำบลนมแม่ฯ” 30
31
ตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง
ขั้นตอนที่ 3 : ของการสร้าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง 31
32
นำแผนที่ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติจริง ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม/ตัวชี้วัด
เมื่อเราได้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 2 ปี (SLM) นำแผนที่ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติจริง ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม/ตัวชี้วัด นิยามเป้าประสงค์/ตารางแผนปฏิบัติการ (11 ช่อง)
34
ดำเนินการโดยท้องถิ่น/ชุมชน
34
35
กิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการ
KPI ต้องตอบสนองเป้าประสงค์ในช่อง 1 และมีฐานที่มาจากมาตรการในช่องที่ 4 และ 5 ด้วย
36
กิจกรรม/ข้อตกลงที่ภาคีเครือข่ายทำร่วมกัน
ช่วยกัน...วิเคราะห์สถานการณ์/กำหนดความคาดหวังของ แต่ละตำบล..เพื่อทราบตัวตนเรา...สิ่งที่อยากจะเห็น พิจารณา..จุดหมายปลายทาง/แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ฉบับของตำบลเป้าหมาย เพื่อเติมเต็มให้สมบูรณ์และเหมาะสมกับบริบท 3. มอบหมายผู้รับผิดชอบหลักตามกล่องเป้าประสงค์ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการตามตาราง 11 ช่อง 4. พิจารณาจัดลำดับความสำคัญการดำเนินงาน ในปีที่จะดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ 5. สรุปแนวทาง/กำหนดรูปแบบการนิเทศติดตามฯ
37
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.