ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักงานภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตึก 3 ชั้น 3 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร , โทรสาร Website:
2
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แบ่งออกเป็น 2 แผน ดังนี้ แผน ก. เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ คุณสมบัติของผู้สมัคร : 1. สำเร็จปริญญาตรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือสาขาใด สาขาหนึ่งทางสังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์ ซึ่งเคยเรียนวิชา ต่อไปนี้อย่างน้อย 3 วิชา ได้แก่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือเหตุการณ์ปัจจุบันของโลก ประวัติศาสตร์สากล การเมืองระหว่างประเทศ องค์การระหว่าง ประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ ความรู้ เกี่ยวกับเอเชีย 2. มีระดับคะแนนไม่ต่ำกว่า 2.70 3. ผลทดสอบภาษาอังกฤษ (CU-TEP) ขั้นต่ำ 450 คะแนน แผน ข. เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษารายวิชาโดยไม่ต้องทำ วิทยานิพนธ์ แต่ต้องมีหน่วยกิตรายวิชาที่นิสิตทำการศึกษา ค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต และไม่เกิน 6 หน่วยกิต คุณสมบัติของผู้สมัคร: 1. สำเร็จปริญญาตรีจากสถาบันการศึกษาที่สำนักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) รับรอง 2. มีประสบการณ์การทำงานไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ผลทดสอบภาษาอังกฤษ (CU-TEP) ขั้นต่ำ 430 คะแนน
3
โครงสร้างหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(แผน ก.) ภาคในเวลาราชการ (แผน ข.) ภาคนอกเวลาราชการ จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน 24 30 -รายวิชาบังคับ 12 - รายวิชาบังคับเฉพาะแขนง - 9 - รายวิชาเลือก จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ จำนวนหน่วยกิตวิชาศึกษาค้นคว้าอิสระ (สารนิพนธ์) 6
4
คณาจารย์ประจำภาควิชาฯ และคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ภาคในเวลาราชการ ปฐมนิเทศ โครงการเตรียมความพร้อม การศึกษาดูงานต่างจังหวัด ภาคนอกเวลาราชการ ปฐมนิเทศ มัชฌิมนิเทศ ปัจฉิมนิเทศ โครงการเตรียมความพร้อม โครงการกีฬา การศึกษาดูงานต่างประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.