ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTrintawat Rardchawat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘ ภายหลังที่ทราบผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ ระหว่าง ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ถึง ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔
2
การบริหารกลยุทธ์ที่ต่อเนื่องและครบวงจร
การกำหนดทิศทาง การวางแผนกลยุทธ์ การวางกลยุทธ์ การวิเคราะห์ทางกลยุทธ์ การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ การประเมินและทบทวนกลยุทธ์ การปฏิบัติตามกลยุทธ์ การเชื่อมกับแผนปฏิบัติการและงบประมาณ
3
การแก้ไขปัญหา 4 รูปแบบ กลยุทธ์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ
“องค์กรอาจต้องมีแนวทางและทางเลือกแก้ไขปัญหาหลายด้าน/ต้องพิจารณาหาลำดับความสำคัญแนวทางเลือก” ยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสม เสริมและใช้ โอกาส-จุดแข็ง (รุก) แก้ไขและป้องกัน จุดอ่อน-อุปสรรค (รับ) แผนงานที่น่าจะเป็น ช่วงสั้น ช่วงสั้น-ยาว กลยุทธ์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ ลด เลิก โอนย้าย ลองเสี่ยง-ปรับปรุง ลุย-เร่งขยาย โอกาส O ข้อจำกัด T จุดอ่อน W จุดแข็ง S
4
ความสัมพันธ์ผังSWOTและกลยุทธ์ ทางเลือก
S+O=Matching approach กลยุทธ “ขยายพลัง” ที่เน้นการใช้จุดแข็ง เพื่อเปิดโอกาสใหม่การแข่งขันขององค์กร W+O=Off-set approach กลยุทธ “ลองเสี่ยง” แก้ไขจุดอ่อน เพื่อใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์กร S+T=Covering approach กลยุทธ “ลดเสี่ยง”อาศัยจุดแข็ง ต้านและตรึง ภาวะคุกคาม ที่มีต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร W+T=Mitigation approach กลยุทธ “ลด-เลิก” หาทางผ่านพ้นจุดอ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคาม ที่ปิดบังวัตถุประสงค์องค์กร S O T W
5
ประเด็นที่เสนอเพื่อการพิจารณา
การประเมินและทบทวนกลยุทธ์ เพื่อประโยชน์ในการทำแผนปรับปรุง ไว้อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงใด ที่มีผลกระทบต่อสภาวะภายในและสภาวะภายนอกของคณะวิทยาการสารสนเทศ หรือไม่ มีการวิเคราะห์ทางกลยุทธ์ตามปัจจัยสภาพแวดล้อมปัจจุบันแล้วใช่หรือไม่ โดยมีความสอดคล้องกับร่างแผนปรับปรุงที่นำเสนออย่างไร ทิศทางในการวางกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ ยังคงตามแผนกลยุทธ์เดิม หรือมีการปรับเปลี่ยนทิศทางใหม่หรือไม่
6
ขอบเขตของกิจกรรมของคณะวิทยาการสารสนเทศ
แผนยุทธศาสตร์/แผนกลยุทธ์ (strategic plan) กำหนดกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ ช่วงเวลา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ รวมกิจกรรมทุกอย่างของคณะวิทยาการสารสนเทศ แผนดำเนินงาน (operational plan) กำหนดขึ้นเพื่อใช้สำหรับแต่ละกิจกรรม เช่น แผนการเงิน ของคณะวิทยาการสารสนเทศ เป็นต้น กำหนดขึ้นเพื่อให้ทำกิจกรรมให้แผนกลยุทธ์บรรลุผล
7
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management: RBM) บางครั้งถูกเรียกว่า การบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective : MBO) มีขั้นตอนการปฏิบัติ ๔ ขั้นตอน การวางแผนกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ การกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดการดำเนินงาน การวัดและการตรวจสอบผลการดำเนินงาน การให้รางวัลตอบแทน
8
การวางแผนกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ
เป็นการวางยุทธศาสตร์หรือการวางกลยุทธ์ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในคณะวิทยาการสารสนเทศ (SWOT Analysis) เพื่อให้ได้มาซึ่งเป้าประสงค์หรือวิสัยทัศน์ (Vision) ของคณะวิทยาการสารสนเทศ อันจะนำไปสู่การกำหนดพันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) เป้าหมาย (Target) และกลยุทธ์การดำเนินงาน (Strategy) รวมถึงการพิจารณา ปัจจัยแห่งความสำเร็จของคณะวิทยาการสารสนเทศ (Critical Success Factors) สร้างตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ด้านต่างๆ
9
การกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลดำเนินงาน
ผู้บริหารและบุคลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ ทำการตกลงร่วมเกี่ยวกับตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ทำการสำรวจเพื่อหาข้อมูลหลักฐานเกี่ยวกับสภาพในปัจจุบัน (Baseline Data) เพื่อนำมาช่วยกำหนดตัวบ่งชี้ ในเชิงปริมาณ (Quantity) ในเชิงคุณภาพ (Quality) ในเชิงเวลา (Time) ในเชิงสถานที่หรือความคลอบคลุม (Place)
10
การวัดและการตรวจสอบผลการดำเนินงาน
ผู้บริหารคณะวิทยาการสารสนเทศ ต้องจัดให้มีการตรวจสอบและรายงานผลการดำเนินงาน ของแต่ละตัวบ่งชี้ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ เพื่อแสดงความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ สามารถจัดให้มีคณะบุคคลเพื่อทำการตรวจสอบผลการดำเนินงานเป็นเรื่องๆ ก็ได้ ตามความเหมาะสม
11
การให้รางวัลตอบแทน เมื่อพิจารณาผลการดำเนินงานแล้ว ผู้บริหารคณะวิทยาการสารสนเทศ จะต้องมีการให้รางวัลตอบแทน ตามระดับของผลงานที่ได้ตกลงกันไว้ อาจมีการให้ข้อเสนอแนะ หรือกำหนดมาตรการบางประการเพื่อให้มีการปรับปรุงผลงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.