ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThanid Poolvaraluck ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE2005-08
อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.นวภัค เอื้ออนันต์ ดร.ดารณี หอมดี ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ผู้จัดทำ นาย มนัสชัย คุณาเศรษฐ รหัส นาย วิทวัส กาพย์ไกรแก้ว รหัส นางสาว ศศิธร พัวไพโรจน์ รหัส
2
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
งานอุตสาหกรรมจำเป็นต้องมีการตรวจสอบคุณภาพ ต้องการวิธีการตรวจสอบโดยไม่ทำลายวัสดุ รูปแบบการแสดงผลแบบเดิมไม่สะดวกในการวิเคราะห์ทั้งชิ้นงาน เครื่องมือวัดมีราคาแพง
3
วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ
พัฒนาระบบในการตรวจสอบตำหนิในวัสดุโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก พัฒนาระบบในการวิเคราะห์ผลสัญญาณและนำมาแสดงเป็นภาพชิ้นงาน ระบบที่พัฒนามีราคาถูกและให้ข้อมูลสมบูรณ์
4
ทฤษฎี Non Destructive Test : Ultrasonic Pulse Echo What is ultrasonic?
Frequency more than 20 kHz Travels efficiently through most liquids and common engineering materials Reflection from an obstacle
5
Ultrasonic thickness gauging
Ultrasonic flaw detection applications utilize frequencies between 500 kHz and 10 MHz Thickness gauging and flaw reflection Example equipment for testing
6
System overview Probe positioning module Ultrasonic module
GUI & CG module
7
Processing and generating output..
System overview Processing and generating output.. Camera (x,y) x y s(x,y) Ultrasonic probe Probe coordinate is (3,1)
8
Displaying Output Integrate and analyse data Output prototype
The green area is thicker than the blue one Same point Thickness scale color bar Output prototype
9
ขอบเขตของงาน ใช้ตรวจสอบวัสดุที่มีรูปทรงไม่ซับซ้อน
ใช้เพื่อวัดความหนาของวัสดุ
10
เครื่องมือที่ใช้ Hardware Data Acquisition Card Ultrasonic probe
Emitting Receiving Ultrasonic probe Camera Software Platform Windows XP Microsoft VC# .NET LABVIEW 7.1 DirectX SDK 9.0
11
ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน
ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พัฒนาโปรแกรมหาพิกัดจากภาพโดยใช้กล้องวีดีโอ ทดลองใช้อุปกรณ์อัลตราโซนิก พัฒนาโปรแกรมตรวจหาตำหนิโดยใช้อัลตราโซนิก พัฒนาโปรแกรมแสดงภาพความหนาของชิ้นงาน ทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่อง
12
แผนการดำเนินงาน
13
ผลงานที่ทำ ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานของอัลตราโซนิกและการนำไปใช้ในงานตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทำลาย ออกแบบแนวคิดในการระบุตำแหน่งของสัญญาณด้วยกล้องวีดีโอ ทดลองใช้โปรแกรม Lab View 7.1 ในการทดสอบการใช้การ์ดรับส่งสัญญาณ
14
งานที่เกี่ยวข้อง เครื่องตรวจสอบรอยบกพร่องและความหนาของโลหะแผ่นโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกส์[3]
15
เอกสารอ้างอิง Benson Carlin, Ultrasonics (Second Edition), 1960
มาโนชญ์ ศรีคงแก้ว, ศุภชัย พรหมจรรย์, เครื่องตรวจสอบรอยบกพร่องและความหนาของโลหะแผ่นโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกส์, 2547
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.