ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThoranan Nitaya ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
นายสุเมธ ภูรีศรีศักดิ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๘วช ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3
๑ ๓ ๒ ศูนย์ข้อมูลกลาง ระบบบริการ ข้อมูลทางวัฒนธรรม ระบบ
เพื่อการบริหาร เพื่อการปฏิบัติงาน
4
ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
5
กรอบการทำงาน (Frame work)
การบูรณาการระบบสารสนเทศ IIS-Integrate Information System นายสุเมธ ภูรีศรีศักดิ์
6
IIS-Integrate Information System การบูรณาการระบบสารสนเทศ
IS-Information System ระบบสารสนเทศ LM-Learning Management การจัดการการเรียนรู้ e-Culture KM-Knowledge Management การจัดการองค์ความรู้ 3C CM-Content Management การจัดการเนื้อหาสาระ Library Book C-Context บริบท C-Concept แนวคิด ระบบห้องสมุด C-Content เนื้อหาสาระ
7
EA model Business system:โครงสร้างหน้าที่ของ Business
การสร้างแบบจำลองของหน้าที่และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของหน้าที่สู่เป้าหมายขององค์กร EA model structure Data system:โครงสร้างของสารสนเทศที่จำเป็นเพื่อ Business การสร้างแบบจำลองของ input/output data และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของข้อมูลสู่เป้าหมายขององค์กร Data system Technology system (Technology Architecture) Application system (Data Architecture) Business system (Business Architecture) (Application Architecture) Application system: โครงสร้างของ Service package เกี่ยวกับหน้าที่ของ Business และสารสนเทศที่ให้บริการ การสร้างแบบจำลอง Service package (Back office,Customer service) และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของ Service package ที่สอดคล้องกับระดับความก้าวหน้าของ Technology/Service In EA, we implement the following four layer modeling of the business process and information system that supports the business process, in order to understand the “comprehensive view of the organization”. 1) Business The status of the organization from the business process point of view 2) Data The status of information that supports the business process. 3) Application The status of application that supports the business process. 4) Technology The status of system technology that supports the business process. Although these four models represent the “comprehensive view of the organization” as a whole, each layer is independent. Avoiding all-inclusive modeling of application, information and information system enables us to examine the impact on the business / data / application / technology architecture when external environment changes or internal changes occur, and to review the affected architectures. Technology system:โครงสร้างของ Technology ที่ทำให้บรรลุผลการบริการ การสร้างแบบจำลองของเทคโนโลยี (Software/Hardware/Network) และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของเทคโนโลยีเพื่อทำให้บรรลุผลของ Service package
8
ภาพแสดงระบบการทำงานไปสู่เป้าหมายโครงสร้างขององค์กร
Business Data Application Technology รูปแบบที่ตั้งเป้าไว้ เป็นการแสดงระบบการทำงานที่ยอดเยี่ยม Business Data Application Technology รูปแบบที่เปลี่ยนแปลง เป็นการแสดงระบบการทำงานที่เหมาะสม Business Data Application Technology รูปแบบปัจจุบัน เป็นการแสดงระบบการทำงานปัจจุบัน
9
การดำเนินงานของศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม
ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ (ขั้นตอนที่ ๑-ขั้นตอนที่ ๕) ตามแบบ ศกวธ ๐๑-ศกวธ๐๙ Business Data Application Technology กำหนดขั้นตอนการทำงานและมาตรฐานข้อมูล (ขั้นตอนที่ ๕-ขั้นตอนที่ ๗) ตามแบบ ศกวธ ๐๙-ศกวธ๑๐ ใช้ระบบที่มีอยู่เดิม This textbook bases on “Business-System Optimization Planning Guideline Version2 (February 2004)" presented by Ministry of Internal Affairs and Communications in Japan, and "EA Establishment Guideline Version1.1(December2003)" presented by Ministry of Economy Trade and Industry in Japan. UML® is a registered trademark of the Object Management Group, Inc. in the United States and other countries.
10
วิสัยทัศน์ “กระทรวงวัฒนธรรมจะมีศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมที่ทันสมัย สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการและดำเนินงานด้านวัฒนธรรมได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด”
11
พันธกิจ ๑. ดำเนินการจัดทำศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม
๒. เผยแพร่และให้บริการข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม ๓. บริหารจัดการศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม
12
ขั้นตอนการดำเนินงาน
13
ลงมือปฏิบัติ 1 2 3 4 5 6 7 กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ
กำหนดปัจจัยภายนอก กำหนดปัจจัยภายใน 2 โอกาส ข้อจำกัด จุดแข็ง จุดอ่อน เสริมส่ง เสริมสร้าง ปรับปรุง ปรับเปลี่ยน 3 กำหนดยุทธศาสตร์ 4 จัดทำ BSC 5 จัดทำ Log frame ลงมือปฏิบัติ 6 7 ติดตามประเมินผล
14
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
7’S Structure System Strategy Staff Style Skill Share value ปัจจัยภายนอก STEPI Social Technology Economic Politics International
15
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมในระดับหน่วยงาน
ของพื้นที่นำร่อง ๕ จังหวัด ขั้นตอนที่ ๑ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ (ตามแบบ ศกวธ ๐๑) ขั้นตอนที่ ๒ จัดทำ SWOT Analysis (ปัจจัยภายนอก ตามแบบ ศกวธ ๐๒) (ปัจจัยภายใน ตามแบบ ศกวธ ๐๓) ขั้นตอนที่ ๓ กำหนดกลยุทธ์ (กลยุทธ์เสริมส่ง ตามแบบ ศกวธ ๐๔) (กลยุทธ์เสริมสร้าง ตามแบบ ศกวธ ๐๕) (กลยุทธ์ปรับปรุง ตามแบบ ศกวธ ๐๖) (กลยุทธ์ปรับเปลี่ยน ตามแบบ ศกวธ ๐๗) ขั้นตอนที่ ๔ จัดทำ Balance Scorecard (Balance Scorecare ตามแบบ ศกวธ ๐๘) ขั้นตอนที่ ๕ จัดทำกิจกรรมของศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงานลงในแบบ Logframe (Logframe ตามแบบ ศกวธ ๐๙) ขั้นตอนที่ ๖ ลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดใน Logframe ขั้นตอนที่ ๗ สรุปรายการในแต่ละเดือน (รายงานประจำเดือน ตามแบบ ศกวธ ๑๐)
26
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.