งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การแก้ไขปัญหาที่ดิน ในพื้นที่ป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

2 ข้อมูลประเทศไทย (Thailand)
เนื้อที่ประเทศไทย ล้านไร่ ประชากร (2549) ล้านคน รายได้เฉลี่ย (2549) ครัวเรือนละ 17,500 บาท/เดือน คนละ ,200 บาท/เดือน

3 เนื้อที่ป่าไม้ (Existing) 104 ล้านไร่
เนื้อที่ป่าอนุรักษ์ ล้านไร่ ราษฎรถือครองที่ดิน 138,768 ราย ,768 แปลง ล้านไร่ อัตราการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ปีประมาณ ล้านไร่

4 นโยบาย มติ ค.ร.ม การแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ในภาพรวม
มติ ค.ร.ม วันที่ 22 เม.ย. 2540 เรื่อง มาตรการและแนวทางการแก้ไข้ปัญหาที่ดินทำกินและการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนและอุทยานแห่งชาติในภาพรวมทั้งประเทศ 1.ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี 2.ป่าสงวนแห่งชาติ 3.ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี 4.ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย 5.พื้นที่อื่นๆ เช่นพื้นที่สวนป่า

5 มติ ค.ร.ม วันที่ 16 กันยายน 2540 แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ ด้านการควบคุมพื้นที่ ด้านการป้องกันพื้นที่ ด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการติดตาม ประเมินผล และระบบข้อมูล

6 มติ ค.ร.ม วันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เรื่อง ผลการเจรจาแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรภาคเหนือ - ขึ้นทะเบียนรายชื่อ ขอบเขตที่ดินทำกินเดิมและพื้นที่ส่วนรวมภายใน 30 วัน - การพิสูจน์สิทธิ์ ภายใต้หลักการพิสูจน์ว่าคนอยู่ก่อนการประกาศเขตป่าหรือไม่ - หลักเกณฑ์การพิสูจน์สิทธิ์ให้ใช้หลักเกณฑ์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน

7 ข้อมูลการขึ้นทะเบียนตามมติ ค.ร.ม วันที่ 11 พ.ค. 2542
รวม 8 จังหวัดภาคเหนือ ลำดับที่ จังหวัด จำนวน (ราย) จำนวนเนื้อที่ (ไร่) 1 เชียงใหม่ 75,116 880, 2 ลำพูน 9,019 77, 3 แม่ฮ่องสอน 27,913 329, 4 ลำปาง 13,500 88, 5 เชียงราย 68,454 649, 6 พะเยา 22,909 224, 7 แพร่ 12,166 103, 8 น่าน 30,557 461, รวม 8 จังหวัด 259,634 2,813,

8 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เห็นชอบตามมติคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ เรื่อง การแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 เห็นชอบ ให้มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่อง การแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้มีผลในทางปฏิบัติต่อไป และควรเร่งรัดดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี ทั้งนี้ ให้ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ในภาพรวมของประเทศด้วย

9 ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำรวจข้อมูลการปลูกไม้ยางพาราของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์เพื่อพิจารณาการเพิกถอนพื้นที่อนุรักษ์และกำหนดให้มีสภาพเป็นป่าสงวนแห่งชาติเพื่อให้ราษฎรที่ถือครองอยู่ก่อนการประกาศเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายตามแนวทางในมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 สามารถขออนุญาตเข้าทำประโยชน์ตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ ตลอดจนการช่วยเหลือราษฎรที่ถือครองภายหลังตามโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ป่าไม้

10 มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550 เห็นชอบในหลักการ ตามที่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอ (1) โครงการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ – 2552 (2) โครงการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ – 2552 (3) โครงการสำรวจข้อมูลการปลูกไม้ยางพาราของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ. 2551 (4) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สนับสนุนภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสี มาตราส่วน 1:4,000 ให้กรมป่าไม้และ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ใช้ในการปฏิบัติงานตามโครงการดังกล่าว

11 มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 18 ธ.ค เรื่อง แผนและมาตรการป้องกันรักษาป่าและฟื้นฟูสภาพป่า (พ.ศ ) กระทรวงทรัพยากรฯ ได้กำหนดพื้นที่เป้าหมายและมาตรการป้องกันรักษาและฟื้นฟูสภาพป่าเป็น 3 ระยะคือ มาตรการระยะเร่งด่วน (พ.ศ. 2551) มาตรการระยะกลาง (พ.ศ ) และมาตรการระยะยาว (พ.ศ ) โดยมาตรการระยะยาว ให้เร่งรัดการดำเนินการตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 30 มิ.ย.41 ให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปีและปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐ (Reshape) ให้เหลือเพียงแนวเดียวให้ชัดเจนบนภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1:4,000

12 มติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 41
ด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ● ป่าสงวนแห่งชาติ ● ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย และป่าอนุรักษ์ตามมติ ค.ร.ม. ● พื้นที่อื่นๆ ที่สงวนหรืออนุรักษ์ไว้เพื่อกิจการป่าไม้ ด้านการป้องกันพื้นที่ป่าไม้และอื่นๆ

13 มติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 41
ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย ยืนยันนโยบายของรัฐ ไม่นำพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายและมติ ค.ร.ม. ไปดำเนินการปฏิรูปที่ดิน สำรวจพื้นที่ครอบครองให้ชัดเจนและขึ้นทะเบียนผู้ครอบครอง

14 มติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541
ให้กรมป่าไม้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดินของราษฎร โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร (หากไม่มีให้ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม) ซึ่ง ถ่ายภาพพื้นที่นั้นไว้เป็นครั้งแรก หลังวันสงวนหวงห้าม เป็นพื้นที่ป่าไม้ครั้งแรกตรวจสอบร่องรอยการทำประโยชน์ต่อเนื่อง มาก่อนวันสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายครั้งแรกและต้องพิจารณา ร่วมกับพยานหลักฐานอื่น ซึ่งแสดงว่า ได้มีการครอบครอง ทำประโยชน์ต่อเนื่อง มาก่อนวันสงวนหวงห้ามนั้นๆด้วย

15 พื้นที่รับผิดชอบของ อส.
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย ล้านไร่ อุทยานแห่งชาติ (ประกาศแล้ว 108 แห่ง) ล้านไร่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า(57 แห่ง) ล้านไร่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า(60 แห่ง) ล้านไร่ พื้นที่เตรียมการประกาศ ล้านไร่ อุทยานแห่งชาติ (40 แห่ง) ล้านไร่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า(3 แห่ง) ล้านไร่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า(3 แห่ง) ล้านไร่ รวมพื้นที่ป่าอนุรักษ์ทั้งสิ้น ล้านไร่

16 แนวทางการดำเนินงานตามมติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิ.ย. 41
ขั้นตอนการดำเนินงานในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 1 สำรวจถือครองพื้นที่ป่าไม้และขึ้นทะเบียน บุคคล 2 ตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดินของ ราษฎร โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศ (ถ้าไม่มีให้ใช้ภาพ ถ่ายดาวเทียม) ซึ่งถ่ายภาพพื้นที่นั้นไว้เป็นครั้งแรก หลังวันสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย ครั้งแรก

17 3 กรณีผลการตรวจพิสูจน์ พบว่าราษฎรอยู่อาศัย/ทำกิน มาก่อน ให้จัดทำขอบเขตที่อยู่อาศัย/ทำกินให้ชัดเจน ห้ามขยายพื้นที่โดยเด็ดขาด และดำเนินการตามกฎหมายให้ราษฎรอยู่อาศัย/ทำกินตามความจำเป็น 3.1 ถ้าเป็นพื้นที่ล่อแหลม คุกคามระบบนิเวศน์และการป้องกันรักษาป่าอนุรักษ์ ให้พิจารณาช่วยเหลือ ให้หาที่อยู่อาศัย/ทำกินแห่งใหม่ ส่งเสริมอาชีพและรับรองสิทธิ์ในที่ดิน

18 4 กรณีผลการตรวจพิสูจน์ พบว่าราษฎรอยู่อาศัย/ทำกิน หลังวันประกาศสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ป่าไม้
4.1 เคลื่อนย้ายราษฎรออกจากพื้นที่ป่าอนุรักษ์ เตรียมแผนการรองรับในพื้นที่เหมาะสม ส่งเสริมอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตรกรรม และพิจารณารับรองสิทธิ์ในที่ดินตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4.2 ถ้าหากยังเคลื่อนย้ายไม่ได้ ให้ดำเนินการควบคุมขอบเขตไม่ให้ขยายพื้นที่เพิ่มเติม โดยเด็ดขาด จัดระเบียบที่อยู่อาศัยทำกินให้พอเพียงกับการดำรงชีพ

19 4. เป้าหมายดำเนินการ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ แห่ง อุทยานแห่งชาติ แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่า แห่ง 5. ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (พ.ศ ) 6. งบประมาณ ปี งบประมาณ พ.ศ ,652,600 บาท ปี งบประมาณ พ.ศ ,914,700 บาท

20 วิธีดำเนินการ สำรวจการถือครองของราษฎร ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
สำรวจและวางแผนกำหนดความเหมาะสม การใช้ที่ดินป่าไม้ ตรวจสอบและรับรองสิทธิ์การอยู่อาศัย/ทำกิน จัดทำแนวเขตป่าอนุรักษ์ให้ชัดเจน

21 การสำรวจ-ตรวจพิสูจน์การครอบครอง-รับรองสิทธิ์
สำรวจการถือครองพื้นที่ป่าไม้ (ตามแผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่) จัดทำแผนที่ผลการสำรวจ OVERLAY สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน จากภาพถ่ายทางอากาศ  คณะกรรมการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิ อยู่ก่อน อยู่หลัง ไม่ล่อแหลม ล่อแหลม แผนการเคลื่อนย้าย  หมายขอบเขตในพื้นที่ แผนความช่วยเหลือ ย้ายไปที่เหมาะสม รับรองสิทธิ์ ตรวจสอบ-รังวัดรายแปลง รับรองสิทธิ์  ที่ถ่ายภาพบริเวณนั้นไว้เป็นครั้งแรกหลังวันสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายครั้งแรก  หากย้ายไม่ได้ทันที ให้ควบคุมขอบเขตพื้นที่ และจัดระเบียบที่อยู่อาศัย/ทำกิน

22 คณะกรรมการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ประกอบด้วย
1.ผู้อำนวยการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท้องที่ (ประธานกรรมการ) 2.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือผู้แทน (กรรมการ) 3.นายอำเภอท้องที่หรือผู้แทน (กรรมการ) 4.ปฏิรูปที่ดินจังหวัดหรือผู้แทน (กรรมการ) 5.หัวหน้าหน่วยงานผู้รับผิดชอบพื้นที่ป่าอนุรักษ์ท้องที่ (กรรมการ)

23 6.นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท้องที่หรือผู้แทน (กรรมการ)
7.กรรมการอื่นที่เห็นสมควร ไม่เกิน 2 คน (กรรมการ) 8.ผู้อำนวยการส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท้องที่(กรรมการและเลขานุการ) 9.เจ้าหน้าที่สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท้องที่ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ)

24 อำนาจหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 1 ตรวจสอบพิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินของราษฎรในเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 - 1.1 ผู้ครอบครองที่ดินต้องเข้าทำประโยชน์อย่างต่อเนื่อง ใช้หลักฐานภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร หลักฐานแสดงการถือครองเข้าทำประโยชน์ที่ดิน 2 มีอำนาจหน้าที่ขอเอกสารเพื่อใช้ในการพิจารณาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ 3 รายงานผลการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิ์

25 แผนภูมิการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิครอบครองที่ดิน ของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ผลการรังวัดตรวจสอบแปลงที่ดิน - บัญชีสรุปจำนวนราย จำนวนแปลง จำนวนเนื้อที่ - บัญชีรายชื่อราษฎรรายแปลง ข้อมูลหลักในการตรวจสอบ ผลการแปล ตีความวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศที่ถ่ายพื้นที่นั้นไว้เป็นครั้งแรกหลังวันสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ ป่าไม้ตามกฎหมายครั้งแรก พยานหลักฐานอื่น - ทะเบียนบ้าน - ภบท. - พยานบุคคล - พยานข้างเคียง - พืชผล อาสิน - อื่นๆ คณะกรรมการตรวจสอบพิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินของราษฎรในพื้นที่ ป่าอนุรักษ์ รับรองสิทธิ บัญชีสรุป (พส.1) บัญชีรายแปลง/เนื้อที่ (พส.1/1) ไม่รับรองสิทธิ บัญชีสรุป (พส.2) บัญชีรายแปลง/เนื้อที่ (พส.2/1) รายงานกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

26 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
แสดงบริเวณตำแหน่งแปลงที่ดินถือครองท้อง ที่ อ.เมือง และอ.นาโยง จ.ตรัง ของแผนที่ท้ายกฤษฎีกา ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2525 ประกาศครอบคลุมป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเทือกเขาบรรทัด แปลงที่ 1 ตอนที่ 1 กฎกระทรวงฉบับที่ 216 (พ.ศ. 2510)

27 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
ภาพขยายแปลงที่ดินถือครอง ซ้อนทับบนแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกา

28 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
แปลงที่ดินถือครอง ซ้อนทับบนภาพถ่ายออร์โธสี ปีพ.ศ.2546

29 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
แปลงที่ดินถือครอง ซ้อนทับบนภาพถ่ายทางอากาศโครงการVAP 61 ปีพ.ศ. 2510

30 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
ภาพขยาย แปลงที่ดินถือครอง ซ้อนทับบนภาพถ่ายออร์โธสี ปีพ.ศ.2546 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า แนวเขตอุทยานแห่งชาติ บริเวณที่มีร่องรอยการทำประโยชน์ ตามผลการแปลตีความภาพถ่ายทางอากาศปี 2510 (ภายหลังการประกาศเป็นพื้นที่ป่าตามกฏหมายครั้งแรก)

31 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ท้องที่ จ.ตรัง
ภาพขยาย แปลงที่ดินถือครอง ซ้อนทับบนภาพถ่ายทางอากาศโครงการ VAP 61 ปี พ.ศ. 2510 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า แนวเขตอุทยานแห่งชาติ บริเวณที่มีร่องรอยการทำประโยชน์ ตามผลการแปลตีความภาพถ่ายทางอากาศปี 2510 (ภายหลังการประกาศเป็นพื้นที่ป่าตามกฏหมายครั้งแรก)

32 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
ตัวอย่างแปลงที่ดินถือครองของราษฎร(นายพิน แสงแก้ว) ที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและได้ทำประโยชน์มาตั้งแต่ปี 2510 บริเวณที่มีร่องรอยการทำ ประโยชน์จากผลการแปลตีความ

33 อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า
ตัวอย่างแปลงที่ดินถือครองของราษฎร(นายพิน แสงแก้ว) ที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและได้ทำประโยชน์มาตั้งแต่ปี 2510 บริเวณที่มีร่องรอยการทำ ประโยชน์จากผลการแปลตีความ

34 บัญชีรายชื่อราษฏรผู้อยู่อาศัย/ทำกิน
ชื่อแปลงสำรวจ แผนผังแปลงที่ดินหมายเลข บัญชีรายชื่อราษฏรผู้อยู่อาศัย/ทำกิน ในเขตป่า ลำ ดับที่ ชื่อ-นามสกุล เลขที่บัตร ประชาชน บ้าน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด หมายเลข เนื้อที่ ตรวจสอบจากการแปล ภาพถ่ายทางอากาศ หมายเหตุ เลขที่ แปลงที่ดิน (ไร่) ก่อนประกาศ หลังประกาศ เขตป่า ลงชื่อ ผู้รังวัด/สำรวจ ลงชื่อ หัวหน้าโครงการ ( ) ( ) ตำแหน่ง ตำแหน่ง วัน เดือน พ.ศ วัน เดือน พ.ศ

35

36

37

38 แผนปฏิบัติงานประจำปี 2550-2551
กิจกรรม หน่วยนับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 แผน ผล 1 กิจกรรมจัดการชุมชนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ - รังวัดแปลงที่ดิน ราย 20,266 7,078 8,320 - ตรวจสอบพิสูจน์สิทธิ์ แปลง 62,768 - 85,356 2. กิจกรรมจัดแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ - สำรวจออกแบบจัดทำแนวฝังหลักเขต กิโลเมตร 1,000 613.98 2,000 - สำรวจออกแบบจัดทำแนวรั้วลวดหนาม 100 92.00 - ฝังทำหลักเขตแสดงแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 410.49 - จัดทำรั้วลวดหนาม 30.00

39 ผลการตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดินของราษฎร
ของสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ สบอ. 3 (บ้านโป่ง) อยู่ก่อน อยู่หลัง อช.เอราวัณ 101 ราย 114 แปลง 1, ไร่ 344 ราย 459 แปลง 6, ไร่ อช. เฉลิมรัตนโกสินทร์ 114 ราย 182 แปลง 1, ไร่ 96 ราย 114 แปลง ไร่ ขสป. แม่น้ำภาชี - ราย แปลง ไร่ 217 ราย 247 แปลง 2, ไร่ รวม 215 ราย 296 แปลง 2, ไร่ 657 ราย 820 แปลง 9, ไร่ สบอ. 5 (นครศรีธรรมราช) อช. เขาหลัก-ลำรู่ 16 ราย 16 แปลง ไร่ 319 ราย 369 แปลง 3, ไร่

40 สบอ. 6 (สงขลา) อยู่ก่อน อยู่หลัง สบอ. 16 (เชียงใหม่)
อช. บูโด-สุไหงปาดี 277 ราย 323 แปลง 1, ไร่ 1,302 ราย 1,359 แปลง 9, ไร่ สบอ. 16 (เชียงใหม่) อช. แม่ฝาง 170 ราย 199 แปลง 1, ไร่ 1,205 ราย 1,701 แปลง 12, ไร่ อช. ดอยเวียงผา - ราย แปลง ไร่ 21 ราย แปลง ไร่ รวม 1,226 ราย 1,733 แปลง 12, ไร่

41 ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน
ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ >> ส่วนจัดการที่ดินและชุมชนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ THE END


ดาวน์โหลด ppt กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google