ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBoon-nam Aromdee ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง การเกิดกลไกราคา มักเกิดในประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบ ที่เปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ( หากรัฐประกอบกิจกรรมทาง เศรษฐกิจเพียงฝ่ายเดียว มักจะไม่มีกลไกราคา )
2
เมื่อไม่มีรัฐเข้ามายุ่ง ทำให้ราคาสินค้านั้นขึ้นๆ
เมื่อไม่มีรัฐเข้ามายุ่ง ทำให้ราคาสินค้านั้นขึ้นๆ ลงๆ ไปตามกลไกราคา เพราะมันอยู่ที่ความ ต้องการซื้อ และความต้องการขายของคนในตลาด หากความต้องการซื้อมากกว่าความต้องการขาย ของจะราคาแพง หากความต้องการซื้อน้อยกว่าความต้องการขาย ของจะราคาถูก จะเห็นว่าราคาสินค้าจะผลักตัวขึ้น หรือลดลงโดย ที่อยู่กับผู้ซื้อและผู้ขายเท่านั้นเอง เศรษฐกิจก็ดำเนิน ไปได้ด้วยดี ด้วยเหตุนี้เขาจึงเรียกกลไกราคาว่า มือที่มองไม่เห็น (invisible hand)
3
หน้าที่ของกลไกราคา - กำหนดราคาสินค้า - กำหนดปริมาณสินค้า
- กำหนดราคาสินค้า ( ภาษาทางเศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า มูลค่า ) - กำหนดปริมาณสินค้า ( เพราะเมื่อราคาถูก ผู้ซื้อจะซื้อปริมาณมาก แต่ผู้ขายจะขายปริมาณน้อย ) - กำหนดปริมาณการผลิตของผู้ประกอบการ ( เพราะผู้ประกอบจะใช้กลไกราคาในการศึกษาว่า จะผลิตออกมายังไงถึงได้กำไรมากๆ )
4
องค์ประกอบของกลไกราคา
ความต้องการซื้อ ศัพท์เศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า อุปสงค์ ความต้องการขาย ศัพท์เศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า อุปทาน ถ้าเกิดความต้องการซื้อพอดีกับ ความต้องการขาย ศัพท์ทางเศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า ภาวะดุลยภาพ
5
อุปสงค์ กฏ ( Demand ) Concept ถ้าราคา อุปสงค์ ถ้าราคา อุปสงค์
( ความต้องการซื้อ + อำนาจซื้อ = มีเงินพอที่จะซื้อขณะนั้นทันที ) กฏ ถ้าราคา อุปสงค์ ถ้าราคา อุปสงค์
6
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
รายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค จำนวนประชากร เพศ และวัย ฤดูกาล หรือสภาพลมฟ้าอากาศ สมัยนิยม หรือความนิยมตามยุคสมัย ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องกันและใช้แทนกันได้ การคาดคะเนการขึ้น หรือลงของสินค้าในอนาคต
7
อุปทาน กฏ ( Supply ) Concept ถ้าราคา อุปทาน ถ้าราคา อุปทาน
( ความต้องการเสนอขายและบริการ จำนวนสูงสุด ณ ระดับราคาหนึ่ง) กฏ ถ้าราคา อุปทาน ถ้าราคา อุปทาน
8
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการ
เสนอขายสินค้าและบริการกับราคาสินค้า ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม (บาท) ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้า (กก.) 11 12 13 14 15 16 17 10 30 50 70 90 110
9
17 16 15 14 13 12 10 30 50 70 90 110 ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม (บาท)
ราคาสินค้า 17 บาทต่อ 1 กิโลกรัม ปริมาณความต้องการผลิตหรือขาย เพิ่มเป็น 110 กิโลกรัม 16 15 14 13 ราคาสินค้า 12 บาทต่อ 1 กิโลกรัม ปริมาณความต้องการผลิตหรือขายมีเพียง 10 กิโลกรัม 12 ปริมาณสินค้า (กก.) 10 30 50 70 90 110
10
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
รายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค จำนวนประชากร เพศ และวัย ฤดูกาล หรือสภาพลมฟ้าอากาศ สมัยนิยม หรือความนิยมตามยุคสมัย ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องกันและใช้แทนกันได้ การคาดคะเนการขึ้น หรือลงของสินค้าในอนาคต
11
ปริมาณการขายเป็นกิโลกรัม
ราคาดุลยภาพ ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ หมายถึง ราค่าหรือปริมาณที่ผู้บริโภค พอใจที่จะซื้อหรือใช้ และผู้ผลิตหรือผู้ขายพอใจที่จะขายหรือผลิต ราคาดุลยภาพในตลาด ราคาต่อ กก. (บาท) ปริมาณการซื้อ เป็นกิโลกรัม ปริมาณการขายเป็นกิโลกรัม ผลกระทบ แนวโน้มของราคา (เพิ่ม –ลดลง) 50 40 30 20 10 สินค้าเหลือ 40 กก. สินค้าเหลือ 20 กก. สินค้าหมดพอดี สินค้าขาด 20 กก. สินค้าขาด 40 กก. ลดลง คงที่ เพิ่มขึ้น
12
ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นอุปสงค์ อุปทาน และราคาดุลยภาพ
ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม D 50 S เส้นอุปทาน 40 30 จุดดุลยภาพ (ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ 20 10 เส้นอุปสงค์ S D ปริมาณสินค้าเป็นกิโลกรัม 10 20 30 40 50
13
การเปลี่ยนแปลงของราคาดุลยภาพ
ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม D2 อุปทานส่วนเกิน S D1 50 40 จุดดุลยภาพใหม่ 30 อุปสงค์ส่วนเกิน เส้นอุปสงค์ หลังมีการเปลี่ยนแปลง 20 10 D2 S D1 ปริมาณสินค้าเป็นกิโลกรัม 10 20 30 40 50 60 70
14
กราฟแสดงราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ
ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม S D A B P1 p3 P2 C D Q ปริมาณสินค้าเป็นกิโลกรัม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.