งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 COE2010-05 เครื่องตั้งสายกีต้าร์และเมโทรโนม ระยะที่ 2 Guitar Tuner & Metronome Phase II
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล ดร.วาธิส ลีลาภัทร โดย นายเปี่ยมศักดิ์ นัยกุล รหัส นายวศกร คำเพราะ รหัส

2 Outline วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา
การออกแบบโปรแกรมการตั้งสาย การทำงานของเครื่องตั้งสายกีต้าร์ การออกแบบโปรแกรมเมโทรโนม การทำงานของเมโทรโนม การดำเนินงานช่วงถัดไป

3 วัตถุประสงค์ของโครงการ
พัฒนาเครื่องตั้งสายกีต้าร์ โดยใช้การขัดจังหวะของ timer/counter ใน ไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อหาคาบเวลาของสัญญาณกีต้าร์ แล้วแปลง เป็นความถี่ ใช้การขัดจังหวะของ timer/counter ในไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อสร้าง เมโทรโนม

4 แผนการดําเนินงานในช่วงที่ผ่านมา
ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ศึกษาข้อมูลเครื่องตั้งสายกีต้าร์บางยี่ห้อและศึกษาโครงงานระยะที่ 1 ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือส่วนกลไก แก้ไขและเพิ่มเติม เพื่อแก้ไขปัญหาจากระยะที่ 1 วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบเพื่อตรวจดูความเป็นไปได้และความถูกต้อง สร้างวงจรส่วนเครื่องตั้งสายและไมโครคอนโทรลเลอร์ สร้างวงจรเมโทรโนมและไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรวจสอบระบบและการทำงานเมื่อรวมวงจรทั้งสองส่วน ทำ PCB และอุปกรณ์สำเร็จ เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ ดำเนินการ ดำเนินการช่วงถัดไป

5 แผนการดําเนินงานในช่วงที่ผ่านมา (ต่อ)
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ PCB และอุปกรณ์สำเร็จ การแสดงผล LCD ดำเนินการ ดำเนินการช่วงถัดไป

6 การออกแบบโปรแกรมการตั้งสาย
PORT B0 จับสัญญาณ pulse สี่เหลี่ยมขาขึ้นของสัญญาณกีต้าร์ TMR1 จับเวลาในหน่วย us เมื่อ PORT B0 จับขาขึ้นของสัญญาณครบ 4 ครั้ง นำเวลาของTMR1 ทำการคำนาณเป็นความถี่โดย 1/(TMR1/3) นำค่าที่ได้เปรียบเทียบกับช่วงความถี่แต่ละสายที่กำหนดในโปรแกรม แสดงผลตำแหน่งสายที่มีความถี่ใกล้เคียงสายนั้นๆ การคำนวณหาความถี่

7 การออกแบบโปรแกรมการตั้งสาย(ต่อ)
LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 1 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 288 Hz- 370 Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 2 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 221 Hz Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 3 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 171 Hz Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 4 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 128 Hz Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 5 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 96 Hz Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 6 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 50 Hz - 96 Hz การแสดงผล LCD

8 การออกแบบการคำนวณความถี่(ทดลอง)
สายที่ กีต้าร์ กีต้าร์เบส คอร์ด ขอบล่าง (Hz) ความถี่ ขอบบน 1 E 328.3 329.63 330.2 G 97 98 99.1 2 B 246.1 246.94 248.1 D 72 73.42 74.1 3 195.1 196 197 A 54 55 55.7 4 146.1 146.83 148 - 41.2 5 109.1 110 111 30.87 6 81.1 82.41 83

9 การทำงานของโปรแกรมตั้งสายกีต้าร์

10 การออกแบบเมโทรโนม เมโทรโนมเป็นเครื่องเคาะจังหวะโดย มี tempo เป็นตัวกำหนดจังหวะโดย มีหน่วยเป็น bpm รับค่า tempo ที่ต้องการ นำค่า tempo ไปคำนวณแล้ว เปรียบเทียบกับจำนวณครั้งที่เข้า Interrupt ส่งสัญญาณ Beep การคำนวณเมโทรโนม การแสดงผล

11 การทำงานของโปรแกรมเมโทรโนม
Time = (600000)/Tempo TMR0 เข้า interrupt ทุกๆ 100 us โดยให้ count เก็บค่าทุกครั้งที่เข้า interrupt นำค่า Time เปรียบเทียบกับ count เมื่อค่าเท่ากันจะสั่งสัญญาณ Beep

12 การทำงานของโปรแกรมเมโทรโนม(ต่อ)

13 การดำเนินงานช่วงถัดไป
รวมโปรแกรมตั้งสายกีต้าร์ ตั้งสายกีต้าร์เบส และเมโทรโนม ปรับปรุงโปรแกรมให้ได้ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไมโครคอลโทรลเลอร์ ทำ PCB และใส่กล่อง

14 คำถาม & คำตอบ


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google