ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเลือกคุณภาพสินค้า
พิจารณาองค์ประกอบของสินค้า เช่น ผู้บริโภคน้ำสลัดดูน้ำตาลและไขมันในสัดส่วนที่ต้องการ ผู้บริโภคจะใช้รายได้เลือกซื้อองค์ประกอบของสินค้าและปริมาณที่ต้องการจนได้ความพอใจสูงสุด
2
ตัวอย่างการตัดสินใจของผู้บริโภค
I = 100 บาทสำหรับบริโภคน้ำสลัดที่มีให้เลือกอยู่ 4 ยี่ห้อในราคาที่แตกต่างกัน ให้คุณภาพของน้ำสลัดขึ้นอยู่กับส่วนผสมของน้ำตาลและไขมัน ซึ่งวัดได้จากกรัมของไขมันและกรัมของน้ำตาลต่อหน่วยของน้ำสลัด ผู้บริโภคจะใช้เงิน 100 บาทในการเลือกซื้อน้ำตาลและไขมันในสัดส่วนที่ต้องการ ใช้ตัวแบบ IC พิจารณาได้ว่า เขาซื้อน้ำสลัดยี่ห้ออะไรบ้าง และในปริมาณเท่าใด
3
องค์ประกอบของน้ำสลัด: ไขมันและน้ำตาล
ยี่ห้อ ไขมัน น้ำตาล ไขมัน/น้ำตาล ราคา จำนวน กรัม/หน่วย บาท/หน่วย หน่วย อีวา อีวอน ดาเลีย ดาลอง ไขมันและน้ำตาลของน้ำสลัดที่ซื้อได้จากเงิน 100 บาท ยี่ห้อ ไขมัน น้ำตาล อัตราการทดแทนส่วนเพิ่ม อีวา อีวอน ดาเลีย ดาลอง
4
การตัดสินใจของผู้บริโภค กรณี 1
เลือกจุด A และใช้เงินทั้งหมดซื้ออีวา 5 หน่วย
5
การตัดสินใจของผู้บริโภค กรณี 2
จุดT ไม่ตรงกับน้ำสลัดยี่ห้อใดที่มีขายในตลาด
6
การผสมน้ำสลัด ผสมอีวาและอีวอนจนได้ส่วนผสมที่จุด T
ทำไม่ไม่ผสมอีวากับดาเลียหรือดาลอง?
7
เมื่อมีการบริโภคสินค้ามากกว่า 1 ประเภท
บริโภคน้ำสลัดและพายเนื้อ จัดสรรรายได้ให้แต่ละสินค้า เลือกองค์ประกอบสินค้าแต่ละประเภทเมื่อได้รับการจัดสรรรายได้
8
การจัดสรรรายได้
9
ลักษณะของตัวแบบเศรษฐศาสตร์
ไม่มีการสัมภาษณ์ ตัวแบบเศรษฐศาสตร์ไม่มีการสัมภาษณ์ผู้บริโภค เช่น ตัวแบบอุปสงค์ต่อเบียร์ เมื่อใช้ในการคาดคะเนหรือการวิเคราะห์นโยบาย สมมติให้เหตุการณ์ในอดีตยังเกิดขึ้นในลักษณะเดิม เช่น ความยืดหยุ่นราคาสินค้าเหมือนเดิม
10
การสัมภาษณ์ ปัจจัยที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการสัมภาษณ์
ความไม่พร้อมของผู้บริโภค ไม่คุ้นกับสินค้า ปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อการสัมภาษณ์ ความพร้อมของผู้บริโภค คุ้นเคยกับสินค้าที่กำลังบริโภค มีการวางแผนที่จะซื้อ เช่น บ้าน รถยนต์
11
การผสมผสานการสัมภาษณ์กับตัวแบบเศรษฐศาสตร์
ตัวแบบอุปสงค์ต่อเบียร์/การสัมภาษณ์ผู้บริโภค ช่วยเสริมข้อสรุป เช่น ผู้บริโภคให้สัมภาษณ์ว่า การเปลี่ยนแปลงในราคาเบียร์ไม่มีผลต่อปริมาณการบริโภคเบียร์ ตัวแบบอุปสงค์สรุปได้ว่า ความยืดหยุ่นราคาเบียร์ต่ำ
12
การทดลองตลาด เลือกกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
จำลองสถานการณ์การซื้อขายสินค้า กำหนดอำนาจซื้อผู้บริโภค แจกคูปองเพื่อจำลองรายได้ กำหนดราคาสินค้า จำนวนคูปองที่ต้องใช้ สังเกตพฤติกรรมการซื้อ สามารถคำนวณความยืดหยุ่นราคา ความยืดหยุ่นรายได้ ความยืดหยุ่นราคาไขว้ ข้อสมมติที่สำคัญคือแหล่งของรายได้ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อ end lecture 8 here
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.