ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Object Location Tracking System (OLTS)
การนำเสนอโครงการ ชื่อโครงการ ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ Object Location Tracking System (OLTS) -เรียน อาจารย์ที่เคารพ และ สวัสดี เพื่อนๆ นักศึกษา ผมนาย วัชระ วงศ์พงษ์คำ และนาย รังสรรค์ อุยยืนยงค์ ศึกษาโครงการ ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ หมายเลขโครงการ COE 01
2
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย ผศ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร. ชัชชัย คุณบัว อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย ผศ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช ผู้พัฒนาโครงการ นาย รังสรรค์ อุยยืนยงค์ รหัส นาย วัชระ วงศ์พงษ์คำ รหัส โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ คือ อาจารย์ ดร ชัชชัย คุณบัว อาจารย์ ผู้ร่วมประเมิน อาจารย์ ดร กิต เธียรธโนปจัย และ ผู้ช่วย ศาตร์ตราจารย์ วิโรจน์ ทวีปวรเดช 02
3
หัวข้อที่นำเสนอ 1. ความก้าวหน้าของโครงการ 2. แผนการดำเนินงานต่อไป 3. ปัญหาและอุปสรรค 4. สรุปผลการดำเนินงาน 03 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
4
ภาพรวมของระบบ 04 อินพุต ระบบ ผลลัพธ์ คำนวณระยะทาง ประมาณค่าตำแหน่ง
องศา ความแรงของสัญญาณ 04 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
5
ความก้าวหน้าของโครงการ
ตารางที่ 1 แสดงความก้าวหน้าของโครงการ เขียนรายงานสรุปผล เขียนคู่มือการใช้งาน ทดสอบและปรับปรุงแก้ไข พัฒนาโปรแกรม ออกแบบโปรแกรม กำหนดฟังก์ชันการทำงานของโปรแกรม ทดลองอุปกรณ์ ศึกษาการทำงานของอุปกรณ์ รวบรวมข้อมูล ก.พ ม.ค ธ.ค พ.ย ต.ค ก.ย ส.ค ก.ค มิ.ย 2551 2550 การดำเนินการ ส่วนที่ยังไม่ดำเนินการ ส่วนที่ดำเนินการแล้ว 05 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
6
การวัดสัญญาณ 06 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
7
07 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
-การวัดสัญญาณ rssi ที่ถนน ข้าง โรงเรียน สาธิต ทั้งสิ้น 5 วัน -จำนวน 10 ครั้ง -เพื่อหาความสัมพันธ์ ของความแรงสัญญาณและระยะทาง เพื่อใช้ในการแปลงความแรงสัญญาณเป็นระยะทาง โดย วัดได้ระยะทางไกลที่สุด 180 เมตร - 07 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
8
กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับความแรงสัญญาณ
08 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
9
กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับความแรงสัญญาณ
Received Signal Strength Indicator dB อธิบาย กราฟ อธิบาย แกน อธิบาย ข้อมูล สรุป Range (M) 09 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
10
กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับความแรงสัญญาณ
Standard Deviation Average Mode หาค่าเฉลี่ยมาเพื่ออะไร สมมติฐานของเรา คือ ถ้าตัว Beacon วางอยู่ใกล้ๆ ID ไหนก็น่าจะมีค่าความแรงของสัญญาณ หรือ ค่า RSSI พอๆ กัน ซึ่งตรงนี้ใช้ค่าเฉลี่ยเป็นตัวบอก ทำให้เราต้องหาค่าเฉลี่ย 2. หาค่า SD มาทำอะไร ตามนิยามของ SD “A statistic that indicates the amount of variability in a group of scores” นั่นคือค่า SD เป็นตัวบอกความผันแปรของข้อมูล ซึ่งเราก็มีสมมติฐานว่า ถ้าตัว Beacon มันอยู่ใกล้ ID อะไร มันก็น่าจะมี variation ใกล้เคียงกับ ID นั่น ดังนั้น SD จึงจำเป็นที่ต้องใช้ในการวิเคราะห์ 3.กราฟ กราฟนำมาเพื่อเช็คความถูกต้อง เพื่อความชัวร์อีกรอบ 10 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
11
โปรแกรมอินเตอร์เฟส 11 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
12
เข้าสู่ระบบ 1. เก็บข้อมูลการวัดสัญญาณ 2. บันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล
3. รับข้อมูลจาก Microcontroller 4. คำนวณหาตำแหน่งวัตถุ 5. แสดงผลลัพธ์ของระบบ 12 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
13
หน้าจอหลัก 13 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ 42 ATND 5
Node = 1 distance = 1 rss = - 45 Node = 1 distance = 2 rss = - 57 Node = 1 distance = 3 rss = - 60 Node = 1 distance = 5 rss = - 63 Node = 1 distance = 5 rss = - 78 ATND 5 13 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
14
โปรแกรม Microcontroller
14 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
15
ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมการทำงาน ZigBee
1. ส่ง API packet ( ATND ) ไปหา ZigBee ที่ติดอยู่กับวัตถุ 2. รับข้อมูลที่ได้จาก reference node ( RSSI ) 3. ส่ง RSSI ที่ได้ไปที่ Monitor Node Ref. Node RSSI RSSI RSSI Monitor Node Ref. Node RSSI Ref. Node 15 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
16
RSS RSS REQUEST REQUEST RSS REQUEST 16 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
17
API Mode 17 - ส่งข้อมูลในรูปของ frame-based-method
- ไม่ใช้ command mode และ time out - บอกสถานะของการส่งทุกครั้ง 17 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
18
API Mode AT command packet AT command response 18
ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
19
ปัญหาและอุปสรรค 1. ความไม่แน่นอนของความแรงสัญญาณ
2. เสาสัญญาณแต่ละขนาดมีประสิทธิภาพต่างกัน 3. อุปกรณ์ ZigBee ไม่เพียงพอ 19 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
20
แผนการดำเนินงานต่อไป
1. เขียนโปรแกรมติดต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ 2. คำนวณหาค่าตำแหน่งวัตถุ 3. เขียนโปรแกรมแสดงผลลัพธ์ 20 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
21
ข้อเสนอแนะและคำถามครับ
21 ระบบติดตามตำแหน่งวัตถุ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.