ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Emerald Management eJournals
โดย รุจิรดา ระวีศรี บรรณารักษ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2
ขอบเขตเนื้อหา เป็นฐานข้อมูลครอบคลุม สาขาวิชาทางด้านการจัดการ ได้แก่ การเงินและการบัญชี ระบบอัตโนมัติขั้นสูง กฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เศรษฐศาสตร์การศึกษา การผลิตและการบรรจุภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ บริษัทและนวัตกรรม การดูแลสุขภาพ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ อุตสาหกรรมการจัดการภาครัฐบาล การจัดการ ข้อมูลข่าวารและความรู้ ธุรกิจระหว่างประเทศ การเรียนรู้และการพัฒนาการ บรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศ วิทยาศาสตร์การจัดการ การจัดการคุณภาพ การตลาด วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม การปฏิบัติการและการจัดการการขนส่งสินค้า การจัดองค์กร การจัดการและประเมินผล การเมืองและนโยบาย อสังหาริมทรัพย์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สืบค้นข้อมูลย้อนหลังได้ตั้งแต่ปี ปัจจุบัน ขอบเขตเป็นเนื้อหา ฐานข้อมูลครอบคลุม สาขาวิชาทางด้านการจัดการ ได้แก่ การเงินและการบัญชี ระบบอัตโนมัติขั้นสูง กฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เศรษฐศาสตร์การศึกษา การผลิตและการบรรจุภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ บริษัทและนวัตกรรม การดูแลสุขภาพ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ อุตสาหกรรมการจัดการภาครัฐบาล การจัดการ ข้อมูลข่าวารและความรู้ ธุรกิจระหว่างประเทศ การเรียนรู้และการพัฒนาการ บรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศ วิทยาศาสตร์การจัดการ การจัดการคุณภาพ การตลาด วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม การปฏิบัติการและการจัดการการขนส่งสินค้า การจัดองค์กร การจัดการและประเมินผล การเมืองและนโยบาย อสังหาริมทรัพย์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา โดยสามารถสืบค้นข้อมูลได้ตั้งแต่ปี ปัจจุบัน
3
Search For ระบุคำค้นหาด้วยตนเอง แล้วระบุประเภทเอกสารที่ต้องการสืบค้น
วิธีการสืบค้น Search For ระบุคำค้นหาด้วยตนเอง แล้วระบุประเภทเอกสารที่ต้องการสืบค้น Advanced Search Browse เลือกค้นหาตามกลุ่มสิ่งพิมพ์เรียงตามอักษร A-Z Quick Access ค้นหาบทความ/เอกสารจากลุ่มหัวเรื่อง วิธีการสืบค้นฐานข้อมูลนี้ มีหลายวิธีด้วยกัน เริ่มตั้งแต่ 1.Search For ระบุคำค้นหาด้วยตนเอง แล้วระบุประเภทเอกสารที่ต้องการสืบค้น 2.Advanced Search 3.Browse เลือกค้นหาตามกลุ่มสิ่งพิมพ์เรียงตามอักษร A-Z 4.Quick Access ค้นหาบทความ/เอกสารจากลุ่มหัวเรื่อง
4
Abstract HTML PDF File รูปแบบผลลัพธ์
เมื่อสืบค้นแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะมีหลายรูปแบบ เช่น เลือกอ่านแบบบทคัดย่อ หรือ Abstract เลือกเอกสารฉบับเต็มแบบ html หรือจะเลือกแบบ pdf file ทั้งนี้เครื่องที่ท่านใช้งานอยู่จำเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม Acrobat Reader ด้วยค่ะ เพื่อจะได้อ่านไฟล์นี้ได้
5
ช่องทางการเข้าใช้ฐานข้อมูล
1. ใช้งานนอกเครือข่ายมหาวิทยาลัย ต้องทำการ SSL VPN ดาวน์โหลด SSL VPN โดยพิมพ์ หัวข้อที่ 2 : การเข้าใช้ฐานข้อมูลกรณีใช้งานนอกเครือข่าย ม. เช่น ใช้งานจากที่บ้าน ที่ทำงาน แต่ต้องการสืบค้นฐานข้อมูลต่างๆ ให้ใช้งานได้ เหมือนกับใช้งานผ่านเครือข่ายม. ซึ่งต้องเข้าไป SSL VPN ตามยูอาร์แอล ข้างต้น หมายเหตุ SSL VPN : Secure Socket Layer Virtual Private Network
7
1.การเข้าใช้นอกเครือข่ายม.
เมื่อเราเข้าไปตามยูอาร์แอลที่แจ้งไว้ บาง web browser เช่น nternet explorer v.7 หรือ firefox อาจมีหน้าจอตามตย. ขึ้นมา ให้กดคลิกไปที่ Continue to this website … จะมีหน้าจอที่ให้ใส่ Username และ PW. ซึ่งถ้าเป็นนศ. ให้ใส่ username และ pw. ที่เราได้รับครั้งแรกตอนลงทะเบียน ซึ่งจะเป็นซองสีน้ำเงิน ซึ่งต้องจำให้ดี เพราะบางทีเราเปลี่ยน username และ pw. เองเมื่อใช้กับระบบลงทะเบียน reg. แต่ไม่ได้แจ้งให้กับฝ่าย network ศูนย์ IT ว่าให้เปลี่ยนเป็น username และ pw. ที่ได้ตั้งขึ้นใหม่ เพราะระบบ VPN จะจำค่า username & Pw. เก่า (ตามที่ได้รับตอนเป็นนศ.ใหม่) ข้อแนะนำ นศ. ควรแจ้ง หรือเมลไปตามที่อยู่ข้างต้น เพื่อติดต่อศูนย์ IT เปลี่ยน pw. เพื่อความสะดวกในการใช้งานให้เหมือนกับระบบ reg. สำหรับบคุลากรของม. จะเป็น username / pw. ที่ใช้งานเดี่ยวกับ mail ของม. กรณีมีคำถาม หรือเข้าใช้งานไม่ได้ โปรดติดต่อฝ่ายระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 3 อาคาร RE โทร หรือ
8
1. การเข้าใช้นอกเครือข่ายม.
3 1 เมื่อ sign in เรียบร้อยแล้ว จะปรากฎหน้าต่างตามตย. ให้คลิกที่ปุม Home และปุ่ม Start เพื่อติดตั้งโปรแกรม จากนั้น จะปรากฏหน้าต่างตามตย. ให้คลิกไปที่ปุ่ม Here 2
9
1. การเข้าใช้นอกเครือข่ายม.
2 จะปรากฏหน้าต่างตามภาพตย. ให้คลิกที่ปุ่ม RUN เพื่อ load โปรแกรม เมือ load เรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปุ่ม close
10
1. การเข้าใช้นอกเครือข่ายม.
2 1 จากนั้นให้ติ๊กเลือกเครื่องหมาย ถูก และคลิกที่ปุ่ม Run และคลิกปุ่ม Always และรอจนกว่าระบบจะติดตั้งแล้วเสร็จ 3
11
1.การเข้าใช้นอกเครือข่ายม.
สำหรับการใช้งานครั้งต่อๆ ไป เมื่อเราต้องติดตั้ง plug in VPN เข้ากับเครื่องเราแล้ว การใช้งานครั้งต่อไป สามารถใช้งานโดยคลิกที่ปุ่ม Start----Juniperter------Network Connect--- ระบบก็จะ popup ให้เราใส่ Username และ Pw. ตามรูป
12
1.การเข้าใช้นอกเครือข่ายม.
2 1 ซึ่งเมื่อเชื่อมต่อสำเร็จแล้ว จะมี Icon แสดงบริเวณ Task Bar ด้านล่าง แสดงการเชื่อมต่อ เมื่อจะเลิกใช้งาน ให้คลิกเลือก log of ทุกครั้ง
13
2. การใช้งานภายในเครือข่ายมหาวิทยาลัย
2.2 การใช้งานภายในเครือข่าย ม. หรือเมื่อเราทำการ SSL VPN เรียบร้อยแล้ว เราก็สามารถใช้ฐานข้อมูลต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยให้บริการ โดยเข้าไปที่ URL : หน่วยงาน ----->ศูนย์ >ศูนย์บรรณสารฯ -ห้องสมุด
14
2. กรณีอยู่ภายในมหาวิทยาลัย --> สืบค้นได้ทันที
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eResources) สำหรับกรณีที่อยู่ในมหาวิทยาลัยเข้าใช้ได้ทันที จากหน้าเว็บไซต์ของศูนย์บรรณสารฯ โดยเลือกเมนูทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eresources) หรือจะเลือกจากกลุ่มไอคอน online databases ก็ได้ แต่ในที่นี้ขอยกตัวอย่างเลือกจากเมนูทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eresources)
15
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์
การสืบค้น ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eResources) สำหรับกรณีที่อยู่ในมหาวิทยาลัยเข้าใช้ได้ทันที จากหน้าเว็บไซต์ของศูนย์บรรณสารฯ โดยเลือกเมนูทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eresources) หรือจะเลือกจากกลุ่มไอคอน online databases ก็ได้ แต่ในที่นี้ขอยกตัวอย่างเลือกจากเมนูทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eresources)
16
เลือกกลุ่มฐานข้อมูล Online Databases
จากนั้นท่านจะรายชื่อฐานข้อมูลทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซึ่งได้จัดไว้ประเภท ได้แก่ eBooks , eJournals, eTheses, online databases eNewspaper และฐานข้อมูลทดลองใช้หรือ Trial databases ตอนนี้ให้ท่านเลือกจากกลุ่ม online database
17
จากนั้นเลือกที่ฐานข้อมูล Emerald
18
หน้าสืบค้นหลัก การสืบค้นแบบที่ 1 : Search For
เข้าสู่หน้าหลักของฐานข้อมูล Emerald ท่านสามารถเลือกรูปแบบการสืบค้นได้ ตัวอย่างที่ 1 การสืบค้น Search For คือ ให้ระบุคำหรือประโยคที่ต้องการสืบค้น และคลิกที่ปุ่มเมนูเลื่อนลงเพื่อเลือกประเภทของเนื้อหาที่ท่านกำลังสืบค้น จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Go 1. Search For ระบุคำค้นด้วยตนเอง และเลือกสิ่งพิมพ์ที่ต้องการค้นได้ ตย. Carbon credit จาก All content
19
ผลลัพธ์ 2 3 1 แสดงผลลัพธ์เอกสารประเภทวารสาร จำนวน 510 บทความ หากต้องการดูผลลัพธ์ตามประเภทอื่นๆ ให้คลิกที่แถบเมนู Books หรือเลื่อนหน้าแสดงผลลงมา ให้คลิกเลือกทีเมนู Modify search 1. แสดงจำนวนผลลัพธ์แต่ละประเภทเอกสาร 2.เลือกแสดงผลลัพธ์แยกตามประเภทของเนื้อหา เช่น Journals Books 3. Modify search ปรับปรุงการค้นอีกครั้ง
20
Modify search 1 2 3 หน้าปรับปรุงผลลัพธ์ ใช้รูปแบบ Advanced Search สามารถใส่คำค้นเพิ่มเติม ระบุเงื่อนไข AND ได้ผลลัพธ์ทุกคำที่กรอกไป OR ได้ผลลัพธ์คำใดคำหนึ่งที่กรอกไป NOT มีเพียงคำเดียว แต่ไม่รวมคำอื่นๆ 1. ระบุคำค้นเพิ่มเติม โดยใช้ตัวเชื่อม AND 2. กำหนดช่วงเวลาข้อมูล คลิกปุ่ม Search
21
ผลลัพธ์ที่ปรับปรุง EarlyCite คือ ดูวารสารก่อนตีพิมพ์ Backfiles คือบทความย้อนหลัง จากวารสารกว่า 120 ชื่อเรื่อง 2 1 แสดงผลลัพธ์ข้อมูลที่ปรับปรุงแล้วตามประเภทเช่น Journals และมีสัญลักษณ์ เช่น EarlyCite คือ ดูวารสารก่อนตีพิมพ์ Backfiles คือบทความย้อนหลัง จากวารสารกว่า 120 ชื่อเรื่อง บทความที่เข้าถึงฉบับเต็มนั้นจะปรากฏสัญลักษณ์เครื่องหมายถูกสีเขียว หากต้องการอ่านคลิกที่ชื่อบทความหรือดูรายละเอียดในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น Preview ดูบทคัดย่อ เอกสารฉบับเต็มแบบ html, แบบ Pdf เป็นต้น 3 1. แสดงผลลัพธ์ 2. สิทธิ์ในการได้เอกสารฉบับเต็ม 3. รายละเอียดบทความแต่ละรายการ
22
ดูข้อมูลบทความ
23
รูปแบบการแสดงผลลัพธ์
แสดงรูปแบบแสดงผลลัพธ์ได้หลายแบบ เช่น ดูตัวอย่าง หรือ Preview, แบบ html, แบบ pdf file และการของอนุญาต (Reprint)
24
แสดงผลลัพธ์ในรูปแบบ html
1 3 2 หน้าผลลัพธ์ในรูปแบบ html 1. แสดงตัวอย่างวารสาร พร้อมรายละเอียด และข้อมูลบทความ 2. บรรณานุกรมทั้งหมด 3.ดูรูปแบบการเขียนอ้างอิงบทความนี้ (Article citation) 1. รายละเอียดของวารสาร 2. บรรณานุกรมที่ใช้ในเอกสารนี้ 3. ดูรูปแบบการเขียนอ้างอิงบทความนี้
25
Article citation (copy & paste)
จะปรากฏการอ้างอิงรูปแบบ APA ให้ copy & paste ในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
26
Marked lists จัดการบรรณานุกรมหลายรายการ
1 3 2 หากต้องการบทความไหนก็ เลือกประเภทสิ่งพิมพ์ จะแสดงรายการและ block ขึ้นมาเช่นจากวารสารหรือ Journals จากนั้น คลิกเลือกบทความโดยทำเครื่องหมายถูกใน block และคลิกที่เมนู Marked lists 1.เลือกประเภทสิ่งพิมพ์ จะแสดงรายการและ block ขึ้นมา 2. คลิกเลือกบทความโดยทำเครื่องหมายถูกใน block 3. คลิกที่เมนู Marked lists
27
Export, ส่งเข้ามูลเข้า e-mail
หากต้องการนำบรรณานุกรมออกด้วยโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมต่างๆ ให้คลิกเลือกที่เมนู Export options ก็จะปรากฏหน้าต่างการจัดการบรรณานุกรมขึ้นมา สามารถเลือกรูปแบบ หรือจะส่งเข้าอีเมล์ โดยระบุอีเมล์ที่ต้องการจะส่งถึง จากนั้นคลิกที่ปุ่ม ดังภาพ หากต้องการนำออกหลายๆ บทความ ก็เลือกได้โดยคลิกที่หลังชื่อบทความแต่ละรายการ
28
การสืบค้นแบบที่ 2 : Browse
1 2 รูปแบบที่ 2 การสืบค้นแบบ Browse คือการเลือกสืบค้นแบบไล่เรียงตามกลุ่มสิ่งพิมพ์ เช่น จาก Books & Journals ผลลัพธ์นั้นจะแสดงตามอักษร A-Z พร้อมกันรายละเอียด ISSN ประเภท พร้อมแจ้งประเภทว่าเป็นหนังสือหรือวารสาร ตัวอย่างเลือกรายการลำดับที่ 2 ดังภาพ 1. Browse เลือกสืบค้นแบบไล่เรียงตามกลุ่มสิ่งพิมพ์ 2. ผลลัพธ์จะแสดงตาม A-Z
29
แสดงข้อมูลตัวเล่มวารสาร รายละเอียด ฉบับล่าสุดและฉบับย้อนหลัง
แสดงข้อมูลตัวเล่มวารสาร รายละเอียด พร้อมฉบับล่าสุดและฉบับย้อนหลัง ตรวจสอบสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลให้ดูที่สัญลักษณ์เครื่องหมายถูกสีเขียวหากต้องการเข้าดูฉบับใด ก็คลิกเลือกที่ Issue นั้นๆ ได้ทันที ตัวอย่าง volume ที่ 23 ฉบับที่ 8 ปี 2010 แสดงข้อมูลตัวเล่มวารสาร รายละเอียด ฉบับล่าสุดและฉบับย้อนหลัง
30
แสดงบทความภายในเล่ม แสดงบทความภายในเล่มหรือฉบับนั้นๆ และดูผลลัพธ์ได้หลายรูปแบบ ทั้ง Abstract, html, pdf และจัดการข้อมูลตามขั้นตอนเดียวกับการสืบค้นที่แนะนำไปก่อนหน้านี้
31
การสืบค้นแบบ Quick Access
แสดงบทความ / หนังสือที่มีการเข้าใช้ สืบค้น มากที่สุด สามารถเลือกตามสาขา หรือ บทความในหนังสือได้โดยคลิกที่เมนูจะปรากฏรายชื่อสาขา หรือชื่อบทความในหนังสือปรากฏขึ้นมา ตัวอย่างเลือกจากวารสาร Aircraft Engineering and Aerospace Technology จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Go
32
ผลลัพธ์ แสดงผลลัพธ์ และเลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์
แสดงผลลัพธ์ รายละเอียดต่างๆ รวมทั้งเลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์ได้ แสดงผลลัพธ์ และเลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์
33
กรณีวารสารยังไม่ตีพิมพ์จะปรากฏ EarlyCite ผู้ใช้ต้อง Register ก่อนถึงเปิดอ่านได้
ตัวอย่างเลือกจากวารสาร Aircraft Engineering and Aerospace Technology ซึ่งปรากฏผลลัพธ์พร้อมมีสัญลักษณ์ EarlyCite หากต้องการดู/อ่าน บทความนี้ ท่านจะต้องลงทะเบียนกับระบบก่อน (Registers)
34
การสร้างแฟ้มส่วนบุคคล (Your Profile)
กรอกข้อมูลตามช่องให้ครบถ้วนถูกต้อง กรอกข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน
35
การสร้างแฟ้มส่วนบุคคล (Your Profile) ต่อ
เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Submit เพื่อให้ระบบยอมรับการลงทะเบียน เมื่อกำหนดรหัสการใช้ รหัสผ่าน และข้อมูลครบถ้วน ให้คลิกที่ Submit
36
แก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้
ระบบแจ้งสถานะ Login แก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้ หากสำเร็จจะปรากฏสถานะ login ในมุมบนด้านซ้าย และมีคำว่า Welcome และชื่อของเรา ทั้งนี้จะมีการแจ้งสิทธิประโยชน์ในการสร้าง Profile และหากต้องการจะปรับปรุงหรือแก้ไข Profile นี้ก็คลิกที่ Profile Edit ได้
37
ประโยชน์ของการสร้าง Profile
Marked lists รายชื่อที่ทำเครื่องหมายไว้ สามารถดู สร้าง และจัดการข้อมูลต่างๆ ได้ในภายหลัง Digest & Newsletters บทสรุปและจดหมายข่าว ได้รับจดหมายข่าวสรุปรายสัปดาห์ Table of contents alerts ระบบแจ้งเตือนหน้า สารบัญ ได้รับการแจ้งหน้าสารบัญวารสารที่เป็นสมาชิกฉบับ ล่าสุดที่ตีพิมพ์ออนไลน์ Your favorites รายการที่ท่านชื่อชอบ Saved search alerts การแจ้งเตือนบนหน้าบันทึก การสืบค้น ทีนี้มาดูว่าประโยชน์จากการสร้าง Profile นั้นมีอะไรบ้าง 1. Marked lists รายชื่อที่ทำเครื่องหมายไว้ สามารถดู สร้าง และจัดการข้อมูลต่างๆ ได้ในภายหลัง 2. Digest & Newsletters บทสรุปและจดหมายข่าวได้รับจดหมายข่าวสรุปรายสัปดาห์ 3. Table of contents alerts ระบบแจ้งเตือนหน้าสารบัญ ได้รับการแจ้งหน้าสารบัญวารสารที่เป็นสมาชิกฉบับ ล่าสุดที่ตีพิมพ์ออนไลน์ 4.Your favorites รายการที่ท่านชื่อชอบ 5. Saved search alerts การแจ้งเตือนบนหน้าบันทึกการสืบค้น
38
ตัวอย่าง การ Add / save / search / alert
เพิ่มบทความไว้ในบันทึกการสืบค้น จะมีผลอัตโนมัติและผลลัพธ์การสืบค้นจะถูกส่งอีเมล์ถึงท่าน
39
ตั้งชื่อ/หัวเรื่อง ที่จะให้ระบบแจ้งเตือน
โดยสามารถตั้งชื่อหัวเรื่องที่จะแจ้งเตือน เลือกจำนวนการเตือนจากนั้นคลิกที่ปุ่ม Add ก็จะส่งถึงอีเมล์ที่ท่านได้ระบุไว้ทันที
40
หากต้องการคำแนะนำการสืบค้นเพิ่มเติม
โปรดติดต่อ บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า Tel , อย่างไรก็ตามท่านสามารถอ่านรายละเอียดหรือทดลองสืบค้นด้วยเมนูต่างๆ ด้วยตนเอง ทั้งนี้ศึกษาได้จากเมนู Help และหากท่านต้องการคำปรึกษาเพิ่มเติม โปรดติดต่อบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า โดยส่งอีเมล์ ที่ หรือ โทรศัพท์ หรือ ค่ะ 40
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.