ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
อดุลย์ เนียมบุญนำ และ สุทธิพร สมแก้ว สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
2
ขอบเขต/เวลา การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน แผนชุมชน/กระบวนการแผนชุมชน
แนะนำทักษะ/เครื่องมือ ระยะเวลา – น.
3
การพัฒนาบนหลักการของการพึ่งพาตนเอง (help them To help themselves)
ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน 3
4
ความเป็นมา ภารกิจ โครงสร้างอัตรากำลัง
4
5
ความเป็นมาของกรมการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ให้มีอำนาจหน้าที่ เกี่ยวกับ “...การทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และสภาพของหมู่บ้าน ตำบล ได้รับการยกระดับให้ดีขึ้นโดยประชาชนเอง” เป็นการพัฒนาบนหลักการของการพึ่งพาตนเอง (help them To help themselves) พัฒนากร เป็นข้าราชการหลัก ทำงานร่วมกับประชาชน ในหมู่บ้าน ตำบล 5
6
ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงมีเสถียรภาพ สนับสนุนให้มีการจัดทำและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน 6
7
โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน (7,000 อัตรา)
โครงสร้างอัตรากำลัง ณ 30 ก.ย.2555 โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน (7,000 อัตรา) - ลูกจ้างประจำ 184 อัตรา - พนักงานราชการ 69 อัตรา อธิบดี (1) รองอธิบดี (3) ผู้ตรวจราชการกรม (12) ส่วนกลาง (593) ส่วนภูมิภาค (6,407) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด (76 จังหวัด) กลุ่มตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน ศอ.บต. (16) กองแผนงาน (45) ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน (39) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ (878 อำเภอ) กลุ่มตรวจสอบภายใน (6) ส่วนราชการภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (9) สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (55) สำนักงานเลขานุการกรม (38) สำนักตรวจราชการ (19) สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน (42) กองคลัง (46) กองประชาสัมพันธ์ (15) สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน (45) กองการเจ้าหน้าที่ (42) ศูนย์ประสานราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ (6) สถาบันการพัฒนาชุมชน (194) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (4) 7
8
ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2555-2559
ยุทธศาสตร์ ๕ กลยุทธ์ ๑๕ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็น เป็นสุข ๑.๑ การแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๑.๒ เสริมสร้างความสุขมวลรวมชุมชนโดยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ๒.๑ บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย ๒.๒ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ๒.๓ ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ๓ ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๓.๑ พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และการตลาด ๓.๒ ส่งเสริมการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเผยแพร่สู่เวทีโลก ๓.๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน ๔.๑ ส่งเสริมธรรมาภิบาลของกองทุนชุมชน ๔.๒ พัฒนาทุนชุมชนให้มั่นคงสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๕ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ๕.๑ พัฒนาองค์กรที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง : องค์กรแห่งการพัฒนา เครือข่ายการพัฒนาชุมชน ๕.๒ บริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร ๕.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหาร ยุทธศาสตร์ ๕.๔ เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร 8
9
9
10
การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
11
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
คำถามชวนคิด... “ความเข้มแข็งของคน” หรือ คนที่เข้มแข็งนั้น เราดูได้จากอะไรบ้าง “ความรู้ ความสามารถ ที่จะพึ่งตนเองได้” “ความเข้มแข็งของชุมชน” หรือ ชุมชนที่เข้มแข็งนั้น เราดูได้จากอะไรบ้าง “ความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง” “การเสริมสร้าง” คืออะไร “การทำให้ของที่มีอยู่แล้ว มีมากขึ้น หรือ การเพิ่มของที่มีอยู่แล้ว ให้มีมากขึ้น”
12
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ความสามารถ ในการบริหาร จัดการชุมชน ได้ด้วยตนเอง ความเข้มแข็ง ของชุมชน ที่ยั่งยืน
13
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ความสามารถ ในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการ ของชุมชนได้ ด้วยตนเอง ความสามารถ ในการบริหาร จัดการชุมชน ได้ด้วยตนเอง
14
1 2 3 4 5 กระบวนการ/วิธีการในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการของชุมชน
ได้ด้วยตนเอง” 1 2 3 4 5 เก็บข้อมูล/ศึกษาชุมชน วิเคราะห์ข้อมูล -ปัญหา - ความต้องการ กำหนดแนวทาง/กิจกรรม ดำเนิน งานตามแผน ติดตาม-ประเมินผล “5 ขั้นตอน.... เป็นกระบวนการพัฒนา โดยทั่วไป”
15
1. เก็บข้อมูล/ ศึกษาชุมชน
เป็นการเสาะแสวงหาข้อมูลต่างๆในชุมชน เช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน เพื่อทราบปัญหาและความต้องการของชุมชนที่แท้จริง วิธีการในการศึกษาชุมชน ได้แก่ การสัมภาษณ์ การสังเกตการสำรวจ และการศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชนด้วย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
16
2. วิเคราะห์ข้อมูล (ปัญหา – ความต้องการ)
เป็นการสนทนา วิเคราะห์ปัญหาของชุมชนร่วมกัน เป็นการนำข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากขั้นตอนการศึกษา/ เก็บข้อมูล มาวิเคราะห์ถึงปัญหา ความต้องการ และสภาพที่เป็นจริง ผลกระทบ ความรุนแรง และความเสียหายต่อชุมชน ที่ทำกันอยู่ในปัจจุบันได้แก่ การจัดเวทีประชาคม เพื่อค้นหาปัญหาร่วมกันของชุมชน
17
3. กำหนดแนวทาง/กิจกรรม (การวางแผน โครงการ)
3. กำหนดแนวทาง/กิจกรรม (การวางแผน โครงการ) เป็นขั้นตอนในการร่วมตัดสินใจ และกำหนดโครงการ เป็นการนำเอาปัญหาที่คนในชุมชนตระหนัก และยอมรับว่าเป็นปัญหาของชุมชน มาร่วมกันหาสาเหตุ แนวทางแก้ไข และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา และให้คนในชุมชนเป็นผู้ตัดสินใจที่จะแก้ไขภายใต้ขีดความสามารถของคนในชุมชน และการแสวงหาความช่วยเหลือจากภายนอก
18
4. การดำเนินงานตามแผน และโครงการ
เป็นขั้นตอนในการดำเนินการตามแผนและโครงการที่ตกลงกันไว้ โดยการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินการฯ
19
5. การติดตาม ประเมินผล เป็นการติดตามความก้าวหน้าของงานที่กำลังดำเนินการตามโครงการ เพื่อการปรับปรุงแก้ไขปัญหา อุปสรรคที่พบได้อย่างทันท่วงที
20
ทั้งหมดเป็นกระบวนการชุมชน ขั้นตอน ๑-๓ เป็น กระบวนการวางแผนชุมชน
1 2 3 4 5 เก็บข้อมูล/ศึกษาชุมชน วิเคราะห์ข้อมูล -ปัญหา - ความต้องการ วางแผน เป้าหมาย วิธีการ ดำเนิน งานตามแผน ติดตาม-ประเมินผล ทั้งหมดเป็นกระบวนการชุมชน ขั้นตอน ๑-๓ เป็น กระบวนการวางแผนชุมชน
21
1 2 3 4 5 กระบวนการ/วิธีการในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการของชุมชน
ได้ด้วยตนเอง” 1 2 3 4 5 เก็บข้อมูล/ศึกษาชุมชน วิเคราะห์ข้อมูล -ปัญหา - ความต้องการ กำหนดแนวทาง/กิจกรรม ดำเนิน งานตามแผน ติดตาม-ประเมินผล “5 ขั้นตอน.... เป็นกระบวนการพัฒนา โดยทั่วไป”
22
การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การทำให้ความสามารถในการดำเนินการแก้ปัญหา และสนองความต้องการของชุมชนที่มีอยู่แล้ว มีมากขึ้นจนถึงระดับที่สามารถดำเนินกิจกรรมทั้ง ๕ ขั้นตอน ได้ด้วยตนเอง ทำอย่างไร การส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชน (ประชาชน) ได้ปฏิบัติงานร่วมกันทั้ง ๕ ขั้นตอน (เรียนรู้ พัฒนาโดยการลงมือทำ ชำนาญ เชี่ยวชาญมากขึ้น)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.