งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕
นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕ เคาะประตูดูบำนาญ สำนักงานคลังเขต ๖

2 กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต
ผู้มีสิทธิรับเงิน ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต 1.ยื่นคำร้องขอ 2.รวบรวมเอกสาร/หลักฐาน 3.ลงทะเบียนรับ 4.บันทึกแบบขอรับ 5.บันทึกรับเรื่อง พบข้อผิดพลาด/ตีกลับ 6.ตรวจสอบ ถูกต้อง 7.อนุมัติหนังสือสั่งจ่าย รับหลักฐานหนังสือสั่งจ่าย 8.ส่งเรื่องอนุมัติ 9.ตรวจสอบการสั่งจ่าย แจ้งผู้เกี่ยวข้อง 10.ลงทะเบียนขอเบิก 11.บันทึกส่งกรมบัญชีกลาง 12.ประมวลผลจ่ายตรง

3 ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต
ส่วนราชการ ต้นสังกัด หลัก ฐาน ส่งผลให้การอนุมัติสั่งจ่ายล่าช้ากว่าเป้าหมาย 20 % ผู้รับบำนาญ ประกาศเกษียณ ฐานข้อมูลบุคลากร ไม่สมบูรณ์ ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก 1.ยื่นคำร้องขอ สำนักงานคลังเขต ๖ สำนักงานคลังเขต ๖ Key ข้อมูล พร้อมส่งหลักฐาน หนังสือสั่งจ่าย ข้อมูลไม่ครบถ้วน/ ไม่ถูกต้อง 2.รวบรวมเอกสารฯ อนุมัติ 3.ลงทะเบียนรับ 4.บันทึกแบบขอรับ e-Pension อนุมัติ สั่งจ่าย ตีกลับ กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต ไม่อนุมัติ ลงทะเบียนขอเบิก

4 ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต
เป้าหมายโครงการ ; การอนุมัติสั่งจ่ายล่าช้ากว่าเป้าหมาย 10 % ต้นสังกัด ส่วนราชการ หลัก ฐาน ผู้รับบำนาญ ประกาศเกษียณ วัคซีน ประกอบด้วยตัวยาดังต่อไปนี้ ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก รวบรวมข้อมูล กำหนดแผน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย (นำร่อง/ปัญหา) ลงพื้นที่สนับสนุน พร้อมทำความเข้าใจเพิ่มเติม เช่น การดำเนินการโดยไม่ต้องรอประกาศเกษียณฯ จัดทำเครื่องมือตรวจสุขภาพ (แบบตรวจฯ “15 จุดหยุดความล่าช้า”) 4.กำหนดตารางแผนการปฏิบัติงานของส่วนราชการ (แผนการจัดทำและนำส่งฯ) 5.ลงพื้นที่กำกับเป้าหมายพิเศษ หนังสือสั่งจ่าย 1.ยื่นคำร้องขอ Key ข้อมูล พร้อมส่งหลักฐาน 2.รวบรวมเอกสาร ข้อมูลไม่ครบถ้วน/ ไม่ถูกต้อง อนุมัติ 3. ลงทะเบียนรับ 4.บันทึกแบบขอรับ อนุมัติ สั่งจ่าย e-Pension ตีกลับ กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต ไม่อนุมัติ ลงทะเบียนขอเบิก

5 แบบตรวจสุขภาพ “15 จุดหยุดความล่าช้า”

6 เครื่องมือเสริม “ลักษณะที่ 2”

7 ตารางการจัดส่งแบบขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญสำหรับกลุ่มเป้าหมาย
ลำดับ หน่วยงาน (จังหวัดนำร่อง/พิษณุโลก) 2555 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๓๑ 2. โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก 4. มหาวิทยาลัยนเรศวร 5. ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก 6. จังหวัดทหารบกพิษณุโลก 7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมฯ เขต ๑ 8. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมฯ เขต ๒ 9. ที่ทำการปกครองจังหวัดพิษณุโลก 10. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก

8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เมื่อวิเคราะห์โครงการแล้ว พบว่าโครงการดังกล่าวมีความคุ้มค่า และสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางในช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษา 3 ปี โดยโครงการดังกล่าวจะสร้างประโยชน์ และสามารถคืนทุนได้ตั้งแต่ปีที่ 1 ด้วยภายใต้เงื่อนไขของต้นทุนเพียงเล็กน้อยกลับสามารถสร้างประโยชน์ได้สุทธิประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ประมาณ 23 ล้านบาท โดยปัจจัยที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ต้นทุนทางตรง แบ่งเป็น - งบประมาณที่ใช้จัดทำเอกสาร จำนวน 3,000 บาท (ระยะเวลา 1 ปี) - งบประมาณที่ใช้ดำเนินการติดตามประเมินผล จำนวน 7,000 บาท (ระยะเวลา 1 ปี) ต้นทุนทางอ้อม ได้แก่ ต้นทุนค่าเสียโอกาสจากการนำเงินมาลงทุนในโครงการดังกล่าว ซึ่งคำนวณได้จากสมมติฐานของการนำเงินตามข้อที่ 1 มาลงทุนดำเนินโครงการอื่นจำนวน 10,000 บาท ผลประโยชน์ทางอ้อม เพิ่มศักยภาพในการใช้จ่ายเงินภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจังหวัดพิษณุโลก (ผู้รับบำนาญได้รับเงินเร็วขึ้น ในขณะเดียวกันเกิดเม็ดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจได้มากขึ้นและเร็วขึ้น) เฉลี่ย 2 ปีแรก ปีละประมาณ ล้านบาท และปีที่ 3 อีก 1.26 ล้านบาท NPV (3 ปี) = ล้านบาท ( NPV)  0 จึงถือเป็นโครงการที่เหมาะสมสำหรับการลงทุน B/C Ratio = 1, ( B/C Ratio  1) ถือว่าเป็นโครงการที่เหมาะสมสำหรับการลงทุน หมายเหตุ ; ข้อมูลดังกล่าวเป็นตัวเลขวิเคราะห์จากค่าประมาณการของผลที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มข้าราชการกรณีเกษียณปกติ เกษียณก่อนกำหนด และกรณีบำเหน็จลูกจ้าง บนสมมติฐานดังต่อไปนี้ จำนวนการยื่นแบบจังหวัดพิษณุโลกกรณีเกษียณปกติ เกษียณก่อนกำหนด และกรณีบำเหน็จลูกจ้างฯ จำนวน และ 125 ราย ตามลำดับ โดยอนุมัติสั่งจ่ายได้ประมาณ และ 124 ราย ตามลำดับ หรือ คิดเป็นร้อยละ และ 99 ตามลำดับ ของจำนวนเรื่องทั้งหมดที่ยื่นขอรับเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญในแต่ละกรณี เป้าหมายคือ อนุมัติสั่งจ่ายบำเหน็จบำนาญ (ภายใน 30 ก.ย. 2555) ให้ได้ร้อยละ และ 100 ตามลำดับ ของจำนวนเรื่องทั้งหมดในแต่ละกรณี หรือ ลดความล่าช้าฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ และ 1 ตามลำดับ ของจำนวนที่ยื่นแบบทั้งหมดฯ จำนวนเงินอนุมัติเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญกรณีเกษียณก่อนกำหนดเฉลี่ย 15,000 บาท/ราย/เดือน และบำเหน็จดำรงชีพ 200,000 บาท/ราย บำเหน็จลูกจ้างเฉลี่ย 10,000 บาท/ราย/เดือน


ดาวน์โหลด ppt นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google