งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
(ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานพยาบาลปฐมภูมิ) วันที่ สิงหาคม 2562

2 ตุลาคม 2562

3 ระบบสมาชิก ผู้ใช้งานหนึ่งคนต่อเครื่องเท่านั้น ระบบจะไม่อนุญาตให้ใช้งานรหัสผู้ใช้คนเดียวกันหลาย ๆ เครื่อง อายุ 1 ปี ทุก ๆ รหัสสมาชิกผู้ใช้งานโปรแกรมจะมีวันหมดอายุภายใน 1 ปี งบประมาณ หรือภายใน 30 ก.ย. ของทุกปี แต่งตั้งผู้ดูแลระบบประจำหน่วย รหัสผู้ใช้งานจะมีการกำหนดสิทธิการใช้งานโปรแกรมในแต่ละส่วน โดยผู้ดูแลระบบที่ได้รับอนุญาตจะมีสิทธิการดำเนินการสูงสุด

4 ห้องเวชระเบียน รายการที่รอดำเนินการ สามารถดับเบิ้ลคลิกเพื่อทำรายการต่อไปได้ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ หมายถึง ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ ซึ่งในการปรับปรุงโปรแกรมครั้งต่อไปจะอนุญาตให้ผู้ใช้งานกรอกรายละเอียดที่อยู่ด้วยตนเองได้ โดยไม่บังคับให้ใช้ระบบค้นหาที่กำหนดไว้ ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน อนุญาตให้สามารถบันทึกที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน และควรจะอ่านที่อยู่ตามทะเบียนบ้านจากบัตรประชาชนได้ เพิ่มที่อยู่ของญาติ เพิ่มระบบบันทึกที่อยู่ของญาติ/ผู้นำส่ง ปรับปรุงระบบบัตรทอง พร. ปรับปรุงระบบอ่านเลขบัตรทอง พร.

5 ห้องเวชระเบียน การแสดงผลข้อมูล ประกอบไปด้วย NMD HN, OPD NO, ชื่อ-สกุล, คลินิกการรักษา, สิทธิการรักษา เป็นต้น รหัสผู้ป่วยนอก แนะนำให้เป็นไปตามมาตรฐานเวชระเบียนคือ ลำดับ/ปี ระบบอัตโนมัติบัตรประชาชน เลือกประเภทบัตรประชาชนแล้ว ควรจะพิมพ์เลขบัตรต่อได้โดยทันที ไม่ต้องใช้เมาส์ในการคลิกเลือกอีก อาชีพผู้รับบริการ แนะนำให้มีระบบค้นหาเพื่อความสะดวก ตรวจสอบสิทธิการรักษา ควรอ่านบัตรประชาชนผู้มารับบริการได้ด้วย

6 ห้องเวชระเบียน : ลงทะเบียนมารับบริการ
ลบ Visit อนุญาตให้ลบลงทะเบียนมารับบริการได้ หากสถานะข้อมูลเหล่านั้นยังไม่ถูกส่งข้อมูล ซึ่งถ้าหากข้อมูลส่งมายัง พร. แล้วการลบจะต้องดำเนินการโดยผู้ดูแลระบบ ย้อนหลังไม่เกิน 15 วัน อนุญาตให้ลงทะเบียนย้อนหลังได้ไม่เกิน 15 วัน หากมีเหตุที่ทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนได้ภายใน 15 วัน จะต้องแจ้งผู้ดูแลระบบ

7 ห้องเวชระเบียน : ลงทะเบียนมารับบริการ
ลงทะเบียนซ้ำในแต่ละวัน อนุญาตให้ลงทะเบียนซ้ำในแต่ละวันได้ โดยให้มีความแตกต่างกันของข้อมูล ดังนี้ ระยะเวลาแต่ละ Visit ควรมีระยะเวลาที่ห่างกัน ตั้งแต่ ชม. คลินิกหลักที่รับบริการไม่ควรเป็นคลินิกเดียวกัน ไม่ควรมีการลงทะเบียนมารับบริการ มากกว่า 2 ครั้งในแต่ละวัน * ระบบจะต้องมีการแจ้งเตือนเมื่อการลงทะเบียนไม่อยู่ในเงื่อนไข *

8 ห้องตรวจโรค คำว่า “วินิจฉัยโรคหลัก วินิจฉัยโรคอื่น ๆ” จะมีการเปลี่ยนแปลงคำให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล วินิจฉัยโรคหลัก ที่อยู่เป็นโรคที่ต้องติดตามเฝ้าระวังการระบาดของโรคจะต้องมีการแจ้งเตือนให้บันทึก “รายงานโรค 506 (รง.506)” ระบบติดตามสถานะผู้รับบริการ ติดตามสถานะผู้มารับบริการได้ว่า ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการดำเนินการได้ (ห้องตรวจใด) วินิจฉัยโรคหลัก จะบันทึกเฉพาะคลินิกที่มารับบริการหลัก ยังไม่มีการเพิ่มการบันทึกหลายคลินิก (ในเวอร์ชั่นปัจจุบัน ซึ่งจะเพิ่มในระยะที่ 3)

9 ห้องตรวจโรค สาเหตุภายนอก/วินิจฉัย S,T จะแยกหน้าต่างเป็นส่วนอีกหนึ่งส่วน และจะมีระบบอัตโนมัติบังคับให้กรอกสาเหตุภายนอก เพิ่มขนาดตัวอักษร ข้อเสนอแนะให้เพิ่มขนาดตัวอักษรในบางตำแหน่ง ซึ่งจะมีการปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสมต่อไป รหัสหัตถการและวินิจฉัยโรค ข้อเสนอแนะควรจะมีระบบแนะนำช่วยเหลือ เมื่อมีการวินิจฉัยโรคที่จำเป็นต้องมีรหัสหัตถการ รหัสหัตถการและราคา จะมีการปรับปรุงรหัสหัตถการและกำหนดราคาหัตถการจากระบบให้โดยอัตโนมัติ

10 ห้องตรวจโรค รหัสหัตถการควรเป็นรหัสจากกรมบัญชีกลาง ระบบจะสามารถค้นหาด้วยรหัสกรมบัญชีกลางได้ หัตถการค้นหาด้วยชื่อ ระบบค้นหาหัตถการควรจะค้นหาด้วยชื่อที่เข้าใจได้ ตัดรายการหัตถการ ให้แสดงผลรายการหัตถการเฉพาะที่ใช้จริง ๆ ในหน่วยปฐมภูมิเท่านั้น วินิจฉัยโรค สามารถค้นหาด้วยชื่อที่กำหนดเองได้ เช่น URI, fever

11 จ่ายยาและเวชภัณฑ์ ระบบค้นหายา ควรจะแสดงสัญลักษณ์ของยาตามหน่วยนับ เช่น TAB และยาฉีดแสดงผลเป็นสีแดงตามมาตรฐาน สามารถค้นหาด้วยชื่อย่อ/ชื่อที่กำหนดเองได้ เช่น cpm, ยาอม สามารถตั้งค่ากลุ่มยาที่ต้องการได้ เช่น URI แสดงผลยอดเงินที่เบิกได้/เบิกไม่ได้ กำลังประสานกำลัง กสพ.พร. ในการปรับปรุงระบบยาและคลังยา

12 พยาธิ/เอ๊กซเรย์ ระบบเลือกเป็นกลุ่มพยาธิ ให้สามารถเลือกเป็นรายการแต่ละรายการได้ ก่อนที่จะบรรจุเข้าในรายการ ชื่อพยาธิ ในการตรวจเช่น CBC, Urine ควรจะมีการแสดงผลแต่กลุ่มด้วย การแสดงผลตรวจพยาธิ แสดงผลกรณีผิดปกติเป็นสีแดง และมีสัญลักษณ์ในการกำหนดว่าผลสูงหรือต่ำกว่าค่าปกติ เช่น H, L การแสดงผลเอ๊กซเรย์ สิ่งใดที่สามารถระบุตรวจเป็นข้างได้ เช่น ขาซ้าย ขาขวา ควรจะมีการแสดงผลให้เลือกได้ แสดงผลยอดเงินที่เบิกได้/เบิกไม่ได้

13 ตรวจสุขภาพ อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน...

14 ระบบผู้ป่วยใน อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน... อัตราครองเตียง รายชื่อ/จำนวนผู้ป่วย

15 สถิติและข้อมูล สถิติผู้มารับบริการตามแบบฟอร์ม F01 – 04
สถิติผู้มารับบริการ 20 อันดับโรค (ผู้ป่วยนอก-ใน) สถิติผู้มารับบริการแยกตามคลินิกที่รับบริการ (จำนวน/ชั้นยศ) สถิติผู้มารับบริการในเวลาราชการและนอกเวลา (จำนวน) สถิติการใช้ยาและเวชภัณฑ์ (จำนวน) สถิติผู้มารับบริการแยกตามโรค (จำนวน)

16 สถิติและข้อมูล แบบรายงานโรคระบาด (รง.506) (* ขอแบบฟอร์ม)
(J00 J026 J069 R509) สถิติ ILI 5 อันดับโรค (* รอข้อมูล) ค้นหาด้วย “รหัสวินิจฉัยโรค” จะได้จำนวนผู้รับบริการ (* รอความต้องการ) ค้นหาแฟ้มเวชระเบียนตามระยะเวลาที่กำหนด ค้นหาแฟ้มเวชระเบียนที่มีค่าใช้จ่ายสูง 20 อันดับแรก สถิติรายงานตามแบบฟอร์ม นค. 1 สถิติค่าใช้จ่าย (* รอปรึกษา) รายงานประจำวัน วินิจฉัยโรค สถานะจำหน่าย 10 อันดับโรค (* จำนวน) (* รอข้อมูล)

17 ระบบพิมพ์เอกสาร ปกเวชระเบียนผู้ป่วย บัตรเล็กประจำตัวผู้ป่วย ใบสั่งยา พิมพ์สติ๊กเกอร์ยา (หากสามารถจัดทำสติ๊กเกอร์ยาได้ทันกำหนด)

18 ธันวาคม 2562

19 ห้องเวชระเบียน แพ้ยา/โรคประจำตัว ควรจะสามารถเพิ่มข้อมูลการเป็นรายการแต่ละรายการได้ เพิ่มซักประวัติผู้มารับบริการ แพ้อาหาร/สูบบุหรี่ ฯลฯ สถานะข้อมูลไม่เบิก เพิ่มวิธีการจัดเก็บข้อมูลการลงทะเบียนให้เปลี่ยนแปลงเป็นสถานะไม่ส่งเบิก สปสช. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเป็นเพียงสถิติ

20 การส่งต่อรักษา อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน... สถิติผู้มารับบริการที่ส่งต่อ

21 การติดตามการรักษา/นัด
อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน...

22 โอกาสพัฒนาในระยะต่อไป

23 จ่ายยาและเวชภัณฑ์ ยาที่แพ้ ควรจะแสดงหน้าต่างป้องกันไม่ให้สามาถกรอกยาที่แพ้

24 เอ๊กซเรย์ เพิ่มระบบบันทึกผล ข้อเสนอแนะสามารถบันทึกผลการตรวจเอ๊กซเรย์ได้

25 การส่งเสริมป้องกันโรค
อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบ... ศึกษาในการส่งออกข้อมูล 43 แฟ้ม 50 แฟ้ม

26 ระบบพิมพ์เอกสาร ใบบันทึกการตรวจรักษา บันทึกแพทย์ (ผู้ป่วยใน)


ดาวน์โหลด ppt โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google