ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรอบการจัดทำแผนปีงบประมาณ 2561
นางรุ้งตะวัน หุตามัย หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
10
80
34
ประเด็นสำคัญ ระดับเขตสุขภาพ
ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 1 ระยะ 5 ปี (ปี พ.ศ ) Action plan 20 years พัฒนาแล้วจะประสบความสำเร็จ (5 เสริม) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ (5 สร้าง) ระบบบริหารจัดการโรคติดเชื้อ (SEPSIS) 1. TB. 2. ระบบบัญชาการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน (ICS) 2. แม่ตาย 3. Long Term Care 3. NCD 4. Thai Refer 4. พัฒนาการเด็ก 5. ระบบคุ้มครองผู้บริโภค / RDU 5. สังคมผู้สูงอายุ กลไกขับเคลื่อน = CIPO ระดับเขต
35
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
Thailand MOPH HR 1 4.0 Productive Growth Engine มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน Inclusive Growth Engine green Growth Engine promotion Smart pregnant (MMR Reduction) Lanna smart kid to Teen Smart working Smart aging prevention Smart Prevent (Smart dz prevention program) Smart Detect (Real-time Surveillance) Smart Respond (Smart EOC) protection Smart Citizen Smart Local Government Smart Lanna Citizen Safety people HL People Self Management PP&P SP Intermediate Care ระบบเชื่อมโยงบริการทุกระดับ
36
วิสัยทัศน์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560-2564
เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพที่เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และนวัตกรรม เพื่อคนเชียงใหม่สุขภาพดีด้วยการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน เป้าหมาย “ชาวเชียงใหม่สุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” ค่านิยมองค์กร MOPH Mastery (เป็นนายตัวเอง) Originality (เร่งสร้างสิ่งใหม่) People Centered Approach (ใส่ใจประชาชน) Humility (ถ่อมตนอ่อนน้อม) พันธกิจ ๑. ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๒. พัฒนาระบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเป็นธรรม ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแลและจัดการระบบสุขภาพ ๔. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
37
พันธกิจที่ 1 : ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ : 1. ประชาชนได้รับการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ 2. มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่เป็นภัยต่อสุขภาพ เป้าประสงค์ : ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการและใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ เป้าประสงค์ : 1. มีระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพ 2. ผลิตภัณฑ์สุขภาพและสถานประกอบการด้านสุขภาพมีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 : มีระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ : ประชาชนได้รับการป้องกันจากภัยคุกคามจากสิ่งแวดล้อมและกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
38
พันธกิจที่ 2 : พัฒนาระบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเป็นธรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : พัฒนาคุณภาพและเพิ่มศักยภาพระบบบริการสุขภาพ เป้าประสงค์ : 1. สถานบริการสุขภาพผ่านการรับรองคุณภาพ 2. สถานบริการมีศักยภาพในการให้บริการตามมาตรฐาน Service Plan ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 : การเข้าถึงบริการ (accessibility) เป้าประสงค์ : ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดความแออัดในสถานบริการ และ จัดระบบบริการในเครือข่ายแบบไร้รอยต่อ เป้าประสงค์ : มีระบบการส่งต่อผู้ป่วยที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับ Node
39
พันธกิจที่ 3 : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแล และจัดการระบบสุขภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ : ส่งเสริมภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมและมีความเข้มแข็ง(ใน)ภาคีเครือข่ายเพื่อดูแลสุขภาพของชุมชน เป้าประสงค์ : ภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข็งและยั่งยืน พันธกิจที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะเหมาะสมในการปฏิบัติราชการและมีความผาสุกในการทำงาน เป้าประสงค์ : 1. กำลังคนสอดคล้องกับภาระงาน 2. ศักยภาพของบุคลากรที่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : จัดการความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของข้อมูล เป้าประสงค์ : ข้อมูลมีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา
40
พันธกิจที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์(ต่อ)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังระดับจังหวัดและหน่วยบริการ เป้าประสงค์ : หน่วยบริการมีการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : ขับเคลื่อนการสร้างนวัตกรรมและแหล่งเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้ใหม่ เป้าประสงค์ : มีนวัตกรรมที่เกิดจากองค์ความรู้ใหม่ และ มีกระบวนการสร้างนวัตกรรมในแต่ละพื้นที่ (Life Long Learning) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : ดำรงคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน เป้าประสงค์ : มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : พัฒนาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และการติดตามกำกับและประเมินผล เป้าประสงค์ : มีการนำแผนยุทธศาสตร์มาเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานขององค์กร
41
ปฏิทินจัดทำแผน ปี ๒๕๖1 ของ คพสอ. หลังเสร็จสิ้นโครงการ
รายการ วัน เดือน ปี ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผน 17 สค. 60 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ 2. ดำเนินการจัดทำแผน ๑8 สค กย. 60 คพสอ.ทุกอำเภอ ๓. นำส่งแผนฯ เพื่อขออนุมัติ ภายใน 16 กย. 60 ๓. ตรวจสอบและกลั่นกรองแผนของ คพสอ./ปรับปรุงแก้ไขแผนฯ กย. 60 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ /กลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง/คพสอ. 6. อนุมัติแผน ภายใน 29 กย. 60 7.ดำเนินการตามแผน หลังอนุมัติแผน - 30 กย. 61 กลุ่มงาน/คปสอ.ที่ได้รับอนุมัติฯ ๘. ติดตามและประเมินผลโครงการ ทีม Regulater และ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ ๙. ทบทวน/ปรับปรุงแผน ระหว่าง เมย.61 - พค.๖1 ๗. สรุปผลโครงการ หลังเสร็จสิ้นโครงการ
42
ปฏิทินจัดทำแผน ปี ๒๕๖1 ของกลุ่มงานฯ และ คณะกรรมการ Service plan
รายการ วัน เดือน ปี ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผน 17 สค. 60 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ 2. ดำเนินการจัดทำแผน ๑8 สค กย. 60 กลุ่มงาน/คณะกรรมการ Service plan ๓. นำส่งแผนฯ ภายใน 18 กย. 60 ๔. ตรวจสอบ/กลั่นกรอง/บูรณาการแผน 1๘ - 26 กย. 60 คณะทำงานจากกลุ่มงานฯ+ คณะกรรมการ Service plan 6. อนุมัติแผน โดย คพสจ. วันประชุม คพสจ. เดือน กย. 60 7.ดำเนินการตามแผน หลังอนุมัติแผน - 30 กย. 61 ๘. ติดตามและประเมินผลโครงการ หลังอนุมัติแผน- 30 กย. 61 ทีม Regulater และ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ ๙. ทบทวน/ปรับปรุงแผน ระหว่าง เมย.61 - พค.๖1 ๑๐. สรุปผลโครงการ หลังเสร็จสิ้นโครงการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.