ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
1/19/2018 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสีภายในองค์กร “การทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ” โดย จรูญ วรวาส กลุมอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสี สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
2
ทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและ
สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ) (สมรรถนะเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประกาศคณะกรรมการฯ พ.ร.บ พลังงานปรมาณู ๒๕๐๔) ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และบริหารจัดการ ทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและ ความปลอดภัยทางรังสี
3
ทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี
4
หลักพื้นฐานสามประการ เพื่อการวางแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติฯ
หลักการควบคุมขีดจำกัดการได้รับรังสี ไม่ให้ได้รับเกินค่าที่กำหนด หลักการลดโอกาสการได้รับรังสี ให้น้อยที่สุด หลักการมีบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบร่วมในการป้องกันอันตรายจากรังสี ให้เกิดผลเชิงปฏิบัติจริง
5
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
1/19/2018 แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนได้รับรังสี
6
การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี
แผน/แนวปฏิบัติเพื่อการป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ สำหรับ ...(ห้อง/พื้นที่/บริเวณ/สถาน เป้าหมาย)... การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี บุคลากร พื้นที่ อุปกรณ์ เครืองมือ สิ่งอำนวยความสะดวก ขั้นตอนปฏิบัติ การอำนวยการ และการบริหารจัดการ การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนได้รับรังสี
7
แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี
ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กรณีปกติ การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี บุคลากร พื้นที่ อุปกรณ์ เครืองมือ สิ่งอำนวยความสะดวก ขั้นตอนปฏิบัติ การอำนวยการ และบริหารการจัดการคืออะไร กรณีฉุกเฉิน
8
แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี
ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี
9
ทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี
10
แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี
ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี
11
การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน
การควบคุมการได้รับรังสีและสารกัมมันตรังสีเข้าร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ การควบคุมมาตรฐานอย่างเพียงพอ การเฝ้าตรวจ เฝ้าระวังอย่างมีประสิทธิภาพ จัดแบ่งพื้นที่ในการปฏิบัติงาน และมีมาตรการควบคุมการเข้า-ออกพื้นที่ อย่างชัดเจน กฎระเบียบ มาตรการความปลอดภัยทางรังสี แผนงาน และขั้นตอนวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้ ผู้ปฏิบัติงานได้รับรังสีน้อยที่สุด แผนการตรวจวัดรังสี ทั้งที่บริเวณปฏิบัติงานรังสีและบริเวณสาธารณะ โดยกำหนดระยะเวลา ที่จะดำเนินการอย่างชัดเจน
12
การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี
ประเมินสาเหตุที่ทำให้รังสีมีผลกระทบต่อสาธารณะ ควบคุมและจำกัดรังสีสู่สาธารณะตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังอย่างมีประสิทธิภาพ แผนการตรวจวัดรังสี บริเวณสาธารณะ โดยกำหนดระยะเวลา ที่จะดำเนินการอย่างชัดเจน แผนและวิธีการการขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี หากมีการขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี รวมทั้งมี แผนปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉินระหว่างการขนส่งวัสดุกัมมันตรังส
13
การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี
การตรวจจับ/ส่งสัญญาน การหน่วงเวลา/ชลอ การเผชิญเหตุ/ตอบสนอง การบริหารจัดการ/ระบบ แผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสม
14
สาเหตุที่ทำให้เกิดสภาวะอุบัติเหตุ/ฉุกเฉินทางรังสี
ประเมินค่าความเป็นอันตรายหากเกิดสภาวะอุบัติเหตุนั้นๆ เตรียมการ และวางแผนรองรับสภาวะอุบัติเหตุนั้น ฝึกซ้อมและทดสอบ แผน/เตรียมการไว้ จัดทำแผนปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีและมีเครื่องมือ อุปกรณ์ ต่างๆสำหรับระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสีอย่างเพียงพอ จัดทำแผนการฝึกซ้อมกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีเป็นประจำอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ
15
การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี
แต่ละองค์ประกอบมีรูปแบบเอกลักษณ์การประกันคุณภาพเป็นทางการ มีรูปแบบของการประยุกต์ใช้มีความเป็นมาตรฐาน มีการติดตาม การประเมินผลคุณภาพอย่างเพียงพอ
16
การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม
การคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม การได้รับการฝึกอบรมครบถ้วนสมบูรณ์ตามสมรรถนะของแต่ละตำแหน่งหรือหน้าที่
17
โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA
โครงสร้างบริหารจัดการมีประสิทธิภาพเชิงปฏิบัติจริง เอกสารมอบหมายชัดเจน (อำนาจหน้าที่,ความรับผิดชอบและรายละเอียดหน้าที่) ทรัพยากรเพียงพอ มีการยืนยัน/คำมั่น/รับรอง ต่อความปลอดภัย และยึดหลัก ALARA กับพนักงานทั้งหมดเพียงพอ แผนผังสายการบังคับบัญชาด้านความปลอดภัยทางรังสีซึ่งระบุบุคคลที่เกี่ยวข้องและหน้าที่ ความรับผิดชอบ อย่างครบถ้วนและชัดเจน
18
ทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี
19
แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี
ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี
21
แบบตรวจประเมินแผน/แนวปฏิบัติป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี
มีตามหัวข้อ/เรื่องนี้ มี = √ , ไม่มี = x ป ประเมินเพื่อปรับปรุง 5 = มากที่สุด, 4 = มาก, 3= ปานกลาง, 2= น้อย และ 1= น้อยมาก เหตุผล/หมาเหตุ อธิบายรายละเอียดเหตุผลหรือหมายเหตุประกอบ
22
สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ)
ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และบริหารจัดการ
23
คำถาม โทร ต่อ 2313
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.