ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา
2
Jonathan Turner แบ่งทฤษฎีสังคมวิทยาออกเป็นสำนักคิด (schools) 4 สำนักคิด คือ ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่นิยม (Structural-functional Theory) ทฤษฎีขัดแย้ง (Conflict Theory) ทฤษฎีปริวรรต (Exchange Theory) ทฤษฎีการกระทำระหว่างกันโดยใช้สัญลักษณ์ (Symbolic interactionism) สำนักคิดที่กำลังก่อสร้างตัวอีกสำนักหนึ่ง คือ ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology)
4
ทฤษฎีมหภาพ (Grand Theory)
5
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
หลักสาคัญ สังคมเป็นระบบที่ซับซ้อน มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน และมีส่วนที่พึ่งพากัน แต่ละส่วนของสังคมมี อิทธิพลต่อกัน
6
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
หลักสาคัญ แต่ละส่วนของสังคมคงอยู่ได้ เพราะมีหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการ เพื่อบารุงรักษาให้สังคมคงอยู่ หรือเกิดเสถียรภาพของสังคมทั้งสังคม ความคงอยู่ของแต่ละส่วนของสังคม สามารถอธิบายหน้าที่ในสังคม โดยรวมได้
7
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
หลักสาคัญ สังคมทุกสังคม มีกลไกที่บูรณาการซึ่งกันและกัน กลไกหนึ่งที่สาคัญคือ ความเชื่อ ค่านิยม ที่ สมาชิกในสังคมมีต่อสังคม
8
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
หลักสาคัญ สังคมจะมุ่งไปสู่สมดุล หรือมีเสถียรภาพ ไม่ว่าจะมีสิ่งใด เข้ามารบกวนส่วนใดส่วนหนึ่งของสังคม สังคมมีแนวโน้มที่จะปรับตัวเองไปสู่จุดสมดุล
9
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
หลักสาคัญ เมื่อมีเรื่องที่ไม่เป็นปกติปรากฎขึ้นในสังคม จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้สังคมโดยรวมได้รับ ผลประโยชน์มากขึ้น
10
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
12
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
13
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
14
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
15
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
16
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
17
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
18
ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-functional Theory)
19
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
หลักสาคัญ มีสมมุติฐานว่า พฤติกรรมของสังคมสามารถเข้าใจได้จากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ และบุคคลต่างๆ เพราะการแข่งขันกันในการเป็นเจ้าของทรัพยากรที่มีค่าและหายาก
20
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
แนวคิดของนักสังคมวิทยา ชาวเยอรมัน 2 คน คือ Karl Marx และ Georg Simmel ทฤษฎีการขัดแย้ง ถือกำเนิดในยุโรป ในเวลาไล่เลี่ยกับทฤษฎีการหน้าที่ แต่ได้รับความสนใจในอเมริกา เมื่อ ทศวรรษที่ 1950
21
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
หลักสาคัญ มีสมมุติฐานว่า พฤติกรรมของสังคมสามารถเข้าใจได้จากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ และบุคคลต่างๆ เพราะการแข่งขันกันในการเป็นเจ้าของทรัพยากรที่มีค่าและหายาก
22
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงของสังคมตามแนวคิดของ มาร์กซ
23
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงของสังคมตามแนวคิดของ มาร์กซ
24
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
หลักสาคัญ มีสมมุติฐานว่า พฤติกรรมของสังคมสามารถเข้าใจได้จากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ และบุคคลต่างๆ เพราะการแข่งขันกันในการเป็นเจ้าของทรัพยากรที่มีค่าและหายาก
25
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงของสังคม ตามแนวคิดของ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ชาวเยอรมัน
26
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ดั้งเดิม (Primitive communism) ขั้นสังคมแบบโบราณ (Ancient communal) ขั้นสังคมแบบศักดินา (Feudalism) ขั้นสังคมแบบทุนนิยม (Capitalism) ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ (Communism)
27
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
28
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
แนวคิดของ ลิวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ไม่มีกลุ่มทางสังคมกลุ่มใดที่มีความสมานสามัคคีอย่างสมบูรณ์ ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งของมนุษย์ ความขัดแย้งสามารถแก้ปัญหาความแตกแยกและทำให้เกิดความสามัคคีภายในกลุ่มได้ เพราะในกลุ่มมีทั้งความเป็นมิตรและความเป็นศัตรูอยู่ด้วยกัน ความขัดแย้งเป็นตัวสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม หากสมาชิกในสังคมเกิดความไม่พึงพอใจต่อสภาพสังคมที่เขาอยู่ เขาจะพยายามทำการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์นั้นให้เป็นไปตามเป้าหมายของเขา นอกจากนี้ ความขัดแย้งยังสามารถทาให้เกิดการแบ่งกลุ่ม ลดความเป็นปรปักษ์ พัฒนาความซับซ้อนของโครงสร้างกลุ่มในด้านความขัดแย้งและร่วมมือ และสร้างความแปลกแยกกับกลุ่มต่าง ๆ เป็นต้น
29
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
แนวคิดของ ราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) ชาวเยอรมัน ความไม่เท่าเทียมกันในสังคมนั้นเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันในเรื่องของสิทธิอำนาจ (Authority) กลุ่มที่เกิดขึ้นภายในสังคมสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือ กลุ่มที่มีสิทธิอานาจ กับ กลุ่มที่ไม่มีสิทธิอานาจ สังคมจึงเกิดกลุ่มแบบไม่สมบูรณ์ (Quasi-groups) ของทั้งสองฝ่ายที่ต่างก็มีผลประโยชน์แอบแฝง (Latent interest) อยู่เบื้องหลัง แต่ละฝ่ายจึงต้องพยายามรักษาผลประโยชน์ของตนเอาไว้ โดยมีผู้นาทาหน้าที่ในการเจรจาเพื่อปรองดองผลประโยชน์ซึ่งกันและกันระดับของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะรุนแรงมากหรือรุนแรงน้อยนั้นขึ้นอยู่กับการจัดการและการประสานผลประโยชน์ของกลุ่มที่ครอบงำ
30
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
แนวคิดของ ราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) ชาวเยอรมัน ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมเป็นผลมาจากความกดดันจากภายนอกโดยสังคมอื่น ๆ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมสามารถควบคุมได้ด้วยการประนีประนอม ความขัดแย้งสามารถทาให้โครงสร้างมีการเปลี่ยนแปลงได้ ประเภทของการเปลี่ยนแปลง ความรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลง และขนาดของการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลง เช่น อานาจของกลุ่ม ความกดดันของกลุ่ม
32
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
33
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
34
Applying Conflict Theory
Conflict theory and its variants are used by many sociologists today to study a wide range of social problems. Examples include: How exposure to environmental pollution and hazards is shaped by race and class. Study Proves Poor & Minority Communities Experience the Worst Pollution Smoke from the Cholla Power Plant (powered by coal) mixes with clouds at sunset in Joseph City, Arizona.
35
The Critical View on Global Capitalism
Applying Conflict Theory Conflict theory and its variants are used by many sociologists today to study a wide range of social problems. Examples include: The Critical View on Global Capitalism . In the Democratic Republic of Congo around 1,500 people die every day over fighting to control the lucrative trade in minerals. Cassiterite and coltan ore is used in the production of cell phones, DVD's and computers by the world's most familiar brands. Women and children form the majority of so called artisanal miners who work in cramped dangerous tunnels using shovels or their bare hands to extract rocks containing the minerals. Many are injured or killed by collapsing mine shafts. Young boys emerge from a tunnel at a mine in the Szibira district of South Kivu, Congo.
36
Understanding the Gender Pay Gap and How It Affects Women
Applying Conflict Theory Conflict theory and its variants are used by many sociologists today to study a wide range of social problems. Examples include: The causes and consequences of the gender pay gap between men and women Understanding the Gender Pay Gap and How It Affects Women
39
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ผสมผสานกับแนวคิดอื่น ๆ ทางเศรษฐศาสตร์ และมานุษยวิทยาสายการหน้าที่ ที่ว่าด้วยเรื่องของพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนสิ่งของกันในหมู่คนในชนเผ่า (หน้าที่ของของขวัญกับพฤติกรรมการแลกเปลี่ยน)บุคคลผู้มีอิทธิพลต่อทฤษฎีนี้ก็คือ สกินเนอร์ (B.F. Skinner)
40
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
แนวคิดของ สกินเนอร์ (B.F. Skinner) สังคมมีการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากปฏิสัมพันธ์ของปัจเจกบุคคล และสานึกในการกระทาที่มีต่อสังคม หรือต่อปัจเจกบุคคลด้วยกันการเป็นสังคม ดูได้จากการตรวจสอบและควบคุมพฤติกรรมต่าง ๆ ในสภาวการณ์ในช่วงต่าง ๆ ของบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมหนึ่ง ๆ กระบวนการศึกษาที่สาคัญคือการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ว่า พฤติกรรมหนึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการเรียนรู้หนึ่ง ๆ พฤติกรรมของมนุษย์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ พฤติกรรมที่ไม่โจ่งแจ้งกับพฤติกรรมที่โจ่งแจ้ง
41
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
แนวคิด “การเสริมแรง (reinforcement)” จำแนกได้ 2 ประเภท คือ การให้รางวัล (reward) ซึ่งจะทำให้เกิดพฤติกรรมหรือการกระทำนั้น ๆ ขึ้นอีกในอนาคต การทำโทษ (punishment) ซึ่งมีผลทำให้เกิดการละพฤติกรรมนั้นหรือไม่ให้เกิดพฤติกรรมนั้นอีกการเสริมแรงจะได้ผลดีเพียงใดขึ้นอยู่กับ “เงื่อนไข” การเสริมแรงนาไปสู่การสร้างลักษณะทั่วไปของสังคม และนาไปสู่การวิเคราะห์สังคมได้
42
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
สังคมวิทยาพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ให้ความสาคัญต่อการศึกษาพฤติกรรมของ ปัจเจกบุคคลอย่างมากในทางสังคมวิทยา โดยเชื่อว่าสังคมวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ทางสังคม และกระบวนการในการศึกษาวิทยาศาสตร์ทางสังคมต้องสนใจกระบวนการทางวิทยาศาตร์ คือจิตวิทยา ได้สร้างแนวคิดที่เชื่อมโยงระหว่างจิตวิทยาและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เช่น แนวคิดว่าด้วยเรื่องของการกระทา รางวัล คุณค่า ต้นทุน แรงกระตุ้น การรับรู้ การคาดหวัง และการลงโทษ
43
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
44
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
45
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
46
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
47
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
48
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)
49
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
จากแนวคิดของ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) วิลเลี่ยม ไอ โทมัส (William I .Thomas) จอร์จ เฮอร์เบริ์ต มี้ด (George Herbert Mead) สมาชิกในสังคมกระทาและตีความหมายของความจริงทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน แนวคิดของจอร์จ เฮอร์เบริ์ต มีด (George Herbert Mead)ความคิด ประสบการณ์ และพฤติกรรมมีส่วนสาคัญต่อสังคม
50
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
มนุษย์สร้างความสัมพันธ์ผ่านระบบสัญลักษณ์ (Symbols) สัญลักษณ์ที่สาคัญที่สุด คือ ภาษาสัญลักษณ์อาจเป็นวัตถุ เหตุการณ์ หรือ การกระทาจากวัตถุและเหตุการณ์นั้น เช่น เมื่อพูดถึง “เก้าอี้” อาจหมายถึง ที่นั่ง การนั่ง ท่านั่ง หรือ การครอบครองตาแหน่งสัญลักษณ์ หมายถึง วิธีการที่มนุษย์ปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับธรรมชาติและบริบททางสังคม สัญลักษณ์ไม่ใช่สัญชาตญาณ แต่เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาถ้าไม่มีสัญลักษณ์ มนุษย์จะมีปฏิสัมพันธ์กันไม่ได้และจะไม่มี “สังคม” เกิดขึ้นมา
51
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
ปฏิสัมพันธ์โดยใช้สัญลักษณ์ ทาให้มนุษย์ไม่ต้องใช้สัญชาตญาณในการสร้างพฤติกรรมเพื่อความอยู่รอด มนุษย์จึงสร้างระบบสัญลักษณ์ขึ้นมาและต้องอยู่ในโลกแห่งการตีความหมาย (World of Meaning) คือ ตีความหมายต่อสิ่งเร้า และตอบสนองต่อสิ่งนั้น เช่น พิจารณาว่า อาหารคืออะไร สิ่งนั้นใช่อาหารหรือไม่ แล้วจึงตอบสนองด้วยการกินหรือไม่กินสิ่งนั้น
52
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
สัญลักษณ์ร่วม (Common Symbols) ที่มนุษย์ในสังคมตีความร่วมกัน ทาให้มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กัน สามารถสื่อสารกัน ให้ชีวิตในสังคมดาเนินไปได้ มี้ด เรียกการรู้จักความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้ในการสัมพันธ์กับผู้อื่นว่า การรับรู้บทบาท (role – taking) การรับรู้บทบาท (role – taking) ทาให้เราทราบความหมายและความตั้งใจของผู้อื่น และ สามารถตอบสนองในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เมื่อบุคคลคิดออกไปนอกตัว แล้วมองย้อนกลับมาที่ตัวเอง เหมือน การรับรู้บทบาท (role – taking) ของผู้อื่น จะทาให้บุคคลได้รู้จัก ตนเอง (Self) ดีขึ้น และรู้ว่าผู้อื่นคิดอย่างไรกับตน ทาให้สามารถอยู่ในสังคมและสร้างความร่วมมือ
53
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
54
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
55
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
56
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
57
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
58
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
59
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
60
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
61
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
62
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction)
63
ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology)
64
ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology)
65
ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.