ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่
2
SPสาขามะเร็ง ตัวชี้วัดหลัก : ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และ 2 ≥ ร้อยละ 70 ตัวชี้วัดรอง 1.สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 2.สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 ภายใน 5 ปี (ปี )
3
Template 1.ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ 2. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 3. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด 4. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 5. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
4
งานมะเร็งจังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์ สถิติการรักษาของโรงพยาบาลนครพิงค์ ปี 2559 พบผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 5 อันดับแรก โรคมะเร็งปอด อัตรา20.99 ต่อแสนประชากร มะเร็งเต้านม อัตรา ต่อแสนประชากร มะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ อัตรา16.11 ต่อแสนประชากร มะเร็งปากมดลูก อัตรา 9.21 ต่อแสนประชากร มะเร็งลำไส้ใหญ่ อัตรา8.66 ต่อแสนประชากร
5
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งใหม่ จำแนกรายโรค 5 อันดับแรก ของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557 – 2559
6
งานมะเร็งจังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์ : อัตราตาย(ต่อแสนประชากร)ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก โรค ปี2556 ปี2557 ปี2558 1.มะเร็งปอด 25.58 28.64 33.44 ตัวชี้วัด: อัตรา 18 ต่อแสนประชากร หรือ ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2556 2.มะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ 21.31 24.87 22.70 ตัวชี้วัด: อัตรา 23.5 ต่อแสนประชากร หรือ ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2556 3.กระเพาะอาหาร 5.42 6.52 7.63 4.มะเร็งเต้านม 4.76 4.24 6.47 5.มะเร็งลำไส้ 3.97 3.47 4.15
7
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเสียชีวิต 2557-2559 Hospital base (รพ.นครพิงค์)
8
ผลการดำเนินงาน - การผ่าตัดมะเร็งทุกชนิด < 4 สัปดาห์ ร้อยละ (326/408 ราย) - การรักษาด้วยเคมีบำบัดมะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ85.54 (207/242 ราย) - การรักษาด้วยรังสีรักษามะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ (118/121 ราย) - การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ด้วย U/S จำนวน 5,607 ราย ผิดปกติ จำนวน 1,470 ราย ร้อยละ สงสัย CCA จำนวน 23 ราย ร้อยละ 0.41 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมครอบคลุม ร้อยละ (HDC) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ ร้อยละ (CXS2010) ร้อยละ (HDC)
9
เป้าหมายการพัฒนา ปี 2560 และ ระยะ 5 ปี(ปี 2564)
1. พัฒนาระบบการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมป้องกัน โรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ในวันสำคัญ 2. พัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปาก มดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย 3. พัฒนาระบบข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปาก มดลูก ให้ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
10
เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ ปีภายใน 5 ปี (ปี ) 1.คัดกรองร้อยละ50 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ60 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ 70 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ 80 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.ทะเบียนการคัดกรอง 2.ระบบ 43 แฟ้ม /CXS2010 2. การคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ ปี ด้วยตนเอง 1.คัดกรองร้อยละ 80 2.มีการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมถันยรักษ์และระบบ 43 แฟ้มทุกราย 2.ระบบ 43 แฟ้ม /ถันยรักษ์
11
ประเด็นที่กำกับติดตาม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ร้อยละ 50 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ร้อยละ100 2.สตรีกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจโดยเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 สตรีที่จนท.ตรวจพบพบก้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อทำU/S และ Mammogram ร้อยละ 100 1.ทะเบียนข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยง 2.แบบรายงานผลการตรวจโดย จนท. 3.ข้อมูลการส่งต่อรักษา
12
ประเด็นที่กำกับติดตาม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.การพัฒนาระบบบริการค้นหาคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 1.อำเภอมีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา 2.มีแผนการแก้ไขปัญหา 3.ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้แก่โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก 4. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ใน วันต่อต้านโรคมะเร็งแห่งชาติ(10 ธ.ค.) 1.มีแผนการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 2.มีการจัดตั้งคลินิกมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมีตารางการให้บริการ ใน รพ.สต. 3.มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานคลินิก 4.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง 5.จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้งใน วันมะเร็งโลก(4 ก.พ.) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ในวันฉัตรมงคล (5 พ.ค..) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดย Mobile ของ มูลนิธิกาญจนบารมีฯโดยการตรวจ Ultrasound และ Mammogram 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 2 ครั้ง ใน วันแม่แห่งชาติ(12 ส.ค.) วันรณรงค์โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวโลก (22 ก.ย.) 3.มีการจัดคลินิคตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ ( รพ.สต.) ร้อยละ100 1.ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการและแผนการแก้ไขปัญหา 2.แผนการประชาสัมพันธ์รณรงค์ 3.ผลการดำเนินงาน 4.ทะเบียนผู้รับบริการในคลินิกคัดกรองมะเร็ง
13
สุขภาพจิต ตัวชี้วัดหลัก : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤6.3ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา ตัวชี้วัดรอง 1.ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการมากกว่า ร้อยละ50 2.ผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการมากกว่า ร้อยละ60 3.ผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษามากกว่า ร้อยละ80 4.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ร้อยละ กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
14
Template -อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ -ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
15
การฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง
เป้าหมายไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา
17
สภาพปัญหา การบันทึกข้อมูล การเข้าถึงบริการ อาจยังไม่ถูกต้อง
การบันทึกข้อมูล การเข้าถึงบริการ อาจยังไม่ถูกต้อง ไม่มีข้อมูลการคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยติดสุราและยาเสพติด หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ฯลฯ) ทั้งในสถานบริการและในชุมชน มีข้อมูลการเยี่ยมบ้านเฉพาะ กลุ่มพยายามฆ่าตัวตาย กลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่มีภาวะวิกฤติ กลุ่มผู้ป่วยจิตเวชทั่วไป แต่มีผลงานน้อย
18
Program Evaluation Review Technique (PERT) : อัตราการฆ่าตัวตายลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา
การ แก้ไข ปัญหา ฆ่าตัว ตาย มี แนวทาง ดำเนินง านการ แก้ไข ปัญหา ฆ่าตัว ตาย รพ. รับทรา บ นโยบา ยและ แนว ทางกา ร ดำเนิน งาน รพ.สต. รับทราบ นโยบาย และแนว ทางการ ดำเนินงา น มี ข้อมูล/ ทะเบียน กลุ่ม เสี่ยง มีแนวทาง การแก้ไข ปัญหา การบันทึก ข้อมูลรพ/ รพ.สต 43 แฟ้ม กลุ่มเสี่ยง walk inใน รพ.ได้รับการ คัดกรอง 2Q9Q8Q กลุ่มเสี่ยง walk inใน รพ.สตได้รับ การคัดกรอง 2Q9Q8Q กลุ่ม เสี่ยง ได้รับ การคัด กรอง2Q โดยอสม. จนท รพ/ รพ.สต. ได้รับการ พัฒนา ทักษะการ บันทึก ข้อมูล กลุ่มที่มี ภาวะ ซึมเศร้า ได้รับ Dx/RXร้อย ละ100 มีข้อมูล กลุ่ม ภาวะ ซึมเศร้า กลุ่มเสี่ยง ได้รับการเยี่ยม บ้านโดยจนท. ร้อยละ100 มีข้อมูล การนิเทศ ติดตาม โดยทีม จังหวัด/ อำเภอ อัตราการ ฆ่าตัวตาย ลดลงร้อย ละ 5 ผู้ป่วยจิต เวช/ ซึมเศร้า ได้รับการ เข้าถึง บริการ ตาม เป้าหมาย มีข้อมูลคัด กรอง รักษาที่ ครบถ้วน ถูกต้องใน ระบบ43 แฟ้ม กลุ่มเสี่ยง/จิตเวชทั่วไปเยี่ยม/คัดกรอง ทุก1เดือน SMIเยี่ยม/คัดกรองทุก2Wk กลุ่มเสี่ยงคือกลุ่มNCD กลุ่มสุรายาเสพติด จิตเวชและผู้พยายามฆ่าตัวตาย ต.ค-ธ.ค.2559. ม.ค-มี.ค.2560. เม.ย -มิ.ย.2560. ก.ค - ก.ย.2560. ผู้ติดสุรา/ ยาเสพติด ได้รับ บำบัดค ลินืกสุรา ยาเสพติด (กลุ่มงา นคร.)
19
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน เดือน 1.การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช )ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ทุก3เดือนและบันทึกในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม 1.มีข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหาผลการดำเนินงานคัดกรองในปีที่ผ่านมาจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย 2.มีแผนการแก้ไขปัญหาการคัดกรองให้ได้ตามเป้าหมาย 3.มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าทุกครั้งที่มารับบริการในสถานบริการ(รพ/รพ.สต.) 2.มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ ผู้ที่พบภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.ข้อมูลการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามายในระบบข้อมูล 43แฟ้มและระบบทะเบียน 2.ข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน 3.แผนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาการคัดกรอง
20
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน เดือน 2.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์(กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ) 1.มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้าน 2.มีแผนการเยี่ยมบ้าน 3.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 4.ผู้ที่พบว่าอาการซึมเศร้าจากการประเมินโดยอสม.ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยจนท.ร้อยละ100 5.ผู้ที่ได้รับการเยี่ยมแล้วพบว่ามีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 7.มีการจัดส่งรายงานการเยี่ยมบ้าน 1.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 2.ที่พบว่าอาการซึมเศร้าจากการประเมินโดยอสม.ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยจนท.ร้อยละ100 3.ผู้ที่ได้รับการเยี่ยมแล้วพบว่ามีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานการการเยี่ยมบ้านจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.ทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้าน 2.แผนการเยี่ยมบ้าน 3.ข้อมูลการเยี่ยมบ้านในแต่ละกลุ่มเป้าหมายและข้อมูลผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อ 4.ข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน 2.1กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /กลุ่มผู้ป่วยสุรา ยาเสพติด ผู้ป่วยจิตเวชทั่วไป ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย จนท./ อสม.เดือนละ 1 ครั้ง 2.2 ผู้ป่วยจิตเวช SMI และผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย จนท. ทุก 2 สัปดาห์ อสม. เดือนละ 1 ครั้ง
21
ประเด็นที่กำกับติดตาม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.กลุ่มผู้ติดสุราเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา 1.มีข้อมูลจำนวนกลุ่มผู้ติดสุรา 2.มีแผนงานและกระบวนการการนำผู้ติดสุราเข้าสู่การบำบัดรักษา 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ60 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานราย ไตรมาส 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ70 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานราย ไตรมาส 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ80 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 1.ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุรา 2.แผนงานและกระบวนการการนำผู้ติดสุราเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา 3.ข้อมูลกลุ่มผู้ติดสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษา 4.การพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน รพ./รพสต. 1.มีการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต 2.มีการวิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช มีการแก้ไขปัญหาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 1.มีการสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 2.มีการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิตครั้งที่ 2 3.รพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 รพ.สต. ร้อยละ 50 1.ข้อมูลการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต2.แผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 3.ผลการประเมินมาตรฐานหลังการวางแผนแก่ไขปัญหา
22
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.