ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักระบาดวิทยา (Principles of Epidemiology)
Asst.Prof. Sukhontha Siri, PhD ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
นักศึกษาสามารถ อธิบายความหมายของระบาดวิทยา อธิบายวิวัฒนาการของระบาดวิทยา อธิบายองค์ประกอบของการเกิดโรค อธิบายธรรมชาติของการเกิดโรค อธิบายประเภทของการศึกษาทางระบาดวิทยา ระบุประโยชน์ของระบาดวิทยาในการทำงาน
3
ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด (Epidemiology) คืออะไร?
Epi = on or upon แปลว่า บน Demos = people แปลว่า คน Logos = study แปลว่า การศึกษา ระบาดวิทยา การศึกษาเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับคนหรือ ประชากร ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น
4
Epidemiology By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด คือ การศึกษาการกระจายและสาเหตุของโรคหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้ผลการศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น “ระบาดวิทยาไม่ใช่การศึกษาเฉพาะโรคระบาด”
5
Epidemiology By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด คือ การศึกษาการกระจายและสาเหตุของโรคหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้ผลการศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น “ระบาดวิทยาไม่ใช่การศึกษาเฉพาะโรคระบาด”
6
Epidemiology Study: ระบาดวิทยาเป็นการศึกษาที่มีขบวนเป็นวิทยาศาสตร์ ที่เริ่มต้นด้วยคำถาม โดยมีระเบียบแบบแผนของการวิจัยและมีการใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพของประชากร เพื่อตอบคำถามดังกล่าว Specified populations: ระบาดวิทยามีเป้าหมายสำหรับการศึกษาคือ ประชากร (population)กลุ่มคนที่อาศัยอยู่ร่วมกัน มากกว่าการศึกษาในรายบุคคล(individual)
7
Epidemiology By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด คือ การศึกษาการกระจายและสาเหตุของโรคหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้ผลการศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น
8
Epidemiology Health-related states or events: คือ ผลลัพธ์สุขภาพ (Health outcome): ปัญหาสุขภาพอะไร (What is event?) อดีต: โรค (Disease) โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (Infectious disease) เป็นสำคัญ ปัจจุบัน: การเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆ โรคไร้เชื้อ โรคติดเชื้อ เจ็บพิการ ตาย หรือ การบาดเจ็บ สถานะสุขภาพต่างๆ หรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ พฤติกรรมเสี่ยง เช่น การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ภาวะเสี่ยง เช่น การมีไขมันในลือดสูง มีน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะเครียด “Epidemiological transition”
9
Epidemiology By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด คือ การศึกษาการกระจายและสาเหตุของโรคหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้ผลการศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น
10
Epidemiology Distribution คือ การกระจายของโรค (Health outcome)ในประชากร มีโรค/ความเสี่ยง อะไรเกิดขึ้น (What is magnitude of event?) ใครเป็นโรค/มีความเสี่ยง (Who?) โรค/ ความเสี่ยง เกิดที่ไหน (Where?) โรค/ความเสี่ยง เกิดขึ้นช่วงเวลาใด (When?) จากคำจำกัดความของระบาดวิทยา มีคำสำคัญที่อธิบายความหมายของระบาดวิทยาได้ดีที่สุด คือ คำว่า Distribution และ Determinant Distribution หมายถึง การศึกษาเพื่ออธิบายเกี่ยวกับ ขนาดของโรคหรือปัญหาสุขภาพ (Frequency ) และ รูปแบบของโรคและปัญหาสุขภาพ(Pattern) ในประชากร หรืออาจเรียกว่า Descriptive epidemiology Frequency หมายถึงการศึกษาขนาดของปัญหาสุขภาพในประชากร หรือขนาดของโรคในประชากรนั้น ระบาดวิทยาไม่ได้การแสดงให้เห็นแต่เพียงจำนวน(number)ของการเกิดโรคในชุมชนเท่านั้น แต่ระบาดวิทยาแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของโรคกับขนาดของประชากรที่มีอยู่ในแต่ละชุมชน หรือเป็นการแสดงขนาดของโรคในประชากรเป็นค่าเฉลี่ย (average ) โดยคำนวณโดยใช้สถิติต่างๆ เช่น อัตราส่วน (rate) สัดส่วน(proportion) และอัตรา (rate) ซึ่งค่าเฉลี่ยของการเกิดโรคในชุมชนนั้นจะเรียกว่าดัชนีวัดโรค(indices)ซึ่งดัชนีวัดโรคที่แสดงขนาดของโรคที่สำคัญ คือ ความชุก (Prevalence)และอุบัติการณ์(incidence)ของโรคในประชากร ขนาดของโรคนี้เนำไปใช้สำหรับวางแผนป้องกันควบคุมโรคในชุมชน และการศึกษาทางระบาดวิทยาต่อไป Pattern หมายถึงรูปแบบของปัญหาสุขภาพหรือ โรคที่เกิดขึ้นในประชากร โรคต่างๆที่เกิดขึ้นนั้นมีการแจกแจงตามลักษณะของคน เวลา และสถานที่ ซึ่งโรคต่างๆนั้นๆมีความเอนเอียงที่จะเกิดในลักษณะเป้าหมายของแต่ละโรคแตกต่างกันไป เช่นที่เป็นโรค เช่น โรคไข้หวัดส่วนมากเกิดกับเด็กหรือผู้สูงอายุ มะเร็งปากมดลูกเกิดขึ้นเฉพะผู้หญิง โรคติดต่อส่วนมากเกิดกับคนที่มีฐานะยากจน การศึกษาน้อย หรือ การทำร้ายในครอบครัวส่วนมากเกิดกับคนที่ดื่มสุรา เป็นต้น แตกต่างตามลักษณะของเวลา เช่น วัน เดือน ปี ฤดู และแตกต่างตามลักษณะของสถานที่ เช่น แตกต่างทางภูมิศาสตร์ ภูมิภาค จังหวัด ในเมือง นอกเมือง หรือ สถานที่ทำงาน บ้าน โรงเรียน ซึ่งการเกิดปัญหาสุขภาพที่แตกต่างไปตามลักษณะต่างๆของ คน เวลา และ สถานที่แสดงให้เห็นว่าลักษณะที่แตกต่างเหล่านั้นมีอิทธิพลต่อการเกิดปัญหาสุขภาพนั้นๆแตกต่างกันไป Determinant หมายถึง ปัจจัยกำหนด หรือ สาเหต (Cause)ของปัญหาสุขภาพ ซึ่งสาเหตุ อาจจะเป็น ปัจจัย เหตุการณ์ หรือลักษณะต่างๆที่มีการระบุว่าที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนปแลงสถานะสุขภาพหรือปัญหาสุขภาพ ระบาดวิทยามีรูปแบบการศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาสุขภาพ ซึ่งผลการศึกษาจากการค้นหาสาเหตุของปัญหาสุขภาพนี้เป็นผลการศึกษาที่มีความสำคัญมากต่อการป้องกันและควบคุมโรค เพราะผลการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยกำหนดนี้ใช้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับวางมาตราการต่างๆสำหรับการป้องกันควบคุมปัญหาสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
12
Most common primary cancer sites by gender in Khartoum, Sudan.
16
Epidemiology By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด คือ การศึกษาการกระจายและสาเหตุของโรคหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้ผลการศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น
17
Epidemiology Determinant คือ ปัจจัยกำหนดหรือสาเหตุของโรค
ระบาดวิทยามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุ (Cause of disease) หรือปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มโอกาสของการเกิดของโรค หรือ ปัจจัยเสี่ยง (Risk factor)ของโรค เพราะโรคแต่โรคมีรูปแบบแตกต่างกัน จึงเป็นขบวนการการศึกษาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมโรคจึงเกิดขึ้น (Why disease is occurrence?) ผลการศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุของโรคเป็นผลการศึกษาที่สำคัญที่สุดที่นำไปสู่มาตราการป้องกันและควบคุมโรคในประชากรให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงานสาธารณสุข
18
นักวิชาการ กล่าวว่า สำหรับสถานที่เสี่ยงได้รับควันธูปจำนวนมาก เช่น วัด การศึกษาวิจัยพบว่าคนทำงานในวัดมีสารก่อมะเร็งในเลือดสูงกว่าทั่วไป 4 เท่า
19
พบว่า คนที่สูบบุหรี่เป็นระยะเวลา 20 ปี นั้นมีโอกาสป่วยด้วยโรคมะเร็งปอดถึง 10-30 เท่า หากเทียบกับผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่ ยังมีปัจจัยอื่นๆ เช่น การใช้สารเคมี, มลพิษทางอากาศ และ การกลายพันธุ์ของยีนส์ ที่สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปอด
20
Epidemiology By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด คือ การศึกษาการกระจายและสาเหตุของโรคหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้ผลการศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น
21
ระบาดวิทยากับการป้องกันและควบคุมโรค (Control)
Distribution: ใช้เพื่อ เสนอแนะ ระบุกลุ่มประชากรเป้าหมาย/กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง ระบุเวลาที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้นๆ Determinant: นำไปสู่การ พัฒนาโครงการต่างๆ เพื่อ หลีกเลี่ยง ลด ละ เลิก สาเหตุของการเกิดโรค และนำไปสู่ความสำเร็จในการควบคุมโรคในประชากร เช่น การลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็งปอด การประเมินผลโครงการสุขภาพ
22
คำถามทบทวน 1.ข้อใด มีความหมายตรงกับ Determinant ในคำจำกัดความของระบาดวิทยา ก. โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญที่สุดของคนไทย ข. โรคมะเร็งปอดที่เป็นสาเหตุการตายและป่วยมากกว่ามะเร็งชนิดอื่นๆ ค. การสูบบุหรี่คือสาเหตุของโรคมะเร็งปอด ง. โรคมะเร็งปอดส่วนมากเป็นในเพศชาย จ. โรคมะเร็งปอดเกิดกับผู้สูงอายุ 2.ข้อใดมีความหมายตรงกับ Distribution ในคำจำกัดความของ ระบาดวิทยา ก. โรคหัวใจส่วนมากเกิดกับคนสูงอายุ ข. คนที่มีพ่อและแม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงจะมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูง ค. คนชอบออกกำลังกายไม่เป็นโรคหัวใจ ง. บาดเจ็บและตายจากการใช้รถเพราะคนขับรถดื่มสุราก่อนจะมาขับรถ จ. ยุงเป็นพาหะนำเชื้อสาเหตุของโรคมาลาเรีย
23
Epidemiology สรุป ระบาดวิทยา คือ 2 D 1 C Distribution Determinant
By definition: The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and application of this study to the control of health problem (ที่มา :Last,J.M. (ed)(1988). Dictionary of epidemiology (2nd.ed.), p.42. Oxford University Press, New York.) ระบาดวิทยา หรือ วิทยาการระบาด ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Epidemiology เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก(Greek) คือ Epi ตรงกับ on or upon แปลว่า บน Demos ตรงกับ people แปลว่า คน Logos ตรงกับ study แปลว่า การศึกษา ดังนั้น Epidemiology จึงมีความหมายว่า การศึกษาเกี่ยวกับคนหรือประชากรเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องสำคัญของคนคือเรื่องที่เกี่ยงกับสุขภาพ การเจ็บป่วย และ การตาย ซึ่งจะเห็นว่าความหมายดังกล่าวนั้นมีความหมายที่กว้างมาก จึงมีผู้ให้ความหมายของระบาดวิทยาไว้หลากหลายขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้และลักษณะการทำงานของแต่ละท่านเช่น เป็นแพทย์ นักสาธารณสุข หรือนักวิจัยทางการแพทย์ อย่างไรก็ตามคำจำกัดความของระบาดวิทยาที่มีผู้อ้างอิงมากที่สุด และเป็นคำจำกัดความที่อธิบายให้เห็นว่าระบาดวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานสำคัญสำหรับการปฏิบัตงานทางด้านสาธารสุขให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน คือ คำจำกัดความของ Jhon M. Last ที่กล่าวว่า Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems . ระบาดวิทยา คือการศึกษาการกระจาย และสาเหตุของโรค หรือสถานะการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร และการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและควบคุมโรคหรือปัญหาสุขภาพเหล่านั้น สรุป ระบาดวิทยา คือ 2 D 1 C Distribution Determinant Control
25
ทำไมนักวิทยาศาสตร์สุขภาพจึงต้องเรียน ระบาดวิทยา
Public Health Personal Public health problems EPIDEMIOLOGY
26
วิวัฒนาการของระบาดวิทยา (Evolution of Epidemiology)
400 BC คศ.1850 คศ.1850 คศ.1955 Hippocretis โรคมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อมไม่ใช่เกิดจากภูติผีปิศาจหรือเทพเจ้าบันดาล William Farr บิดาของระบบเฝ้าระวังและสถิติชีพ John Snow -บิดาแห่งระบาดวิทยาสมัยใหม่ -ใช้ระบาดวิทยาพรรณนาและเชิงวิเคราะห์พิสูจน์แหล่งน้ำสาเหตุของการระบาดโรคอหิวาต์ Thomas Frances -ศึกษาประสิทธิ ภาพวัคซีนโปลิโอ -การศึกษาเชิงทดลองภาคสนาม Thomas Dawber -ศึกษาปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจโดย การศึกษาโครฮอร์ทFramingham heart study Epidemiological methods เริ่มจากการสอบสวนโรค
27
วิวัฒนาการของระบาดวิทยา Evolution of Epidemiology)
Hippocretis โรคมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อมไม่ใช่เกิดจากภูติผีปิศาจหรือเทพเจ้าบันดาล John Snow -ใช้ระบาดวิทยาพรรณนาและเชิงวิเคราะห์พิสูจน์แหล่งน้ำสาเหตุของการระบาดโรคอหิวาต์ Thomas Frances -ศึกษาประสิทธิ ภาพวัคซีนโปลิโอ -การศึกษาเชิงทดลองภาคสนาม Thomas Dawber -ศึกษาปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจโดย การศึกษาโครฮอร์ทFramingham heart study William Farr บิดาของระบบเฝ้าระวังและสถิติชีพ สถิติ เทคโนโลยีสารสนเทศ 400 BC คศ.1850 คศ.1955 ศตวรรษ 17-18:Infectious disease ศตวรรษ 19-20 :Non communicable disease 1980: Injury and violence 1990 : Molecular and genetic Meanwhile: Non communicable disease Emerging, Reemerging disease, Injury, Terrorist attacks
28
นึกถึงระบาด ...ต้องนึกถึงใคร?
29
Jhon Snow, (1854) เป็นวิสัญญีแพทย์
ทำการสอบสวนโรคและหยุดยั้งการระบาดของโรคอหิวาตกโรค ที่เกิดการระบาดขึ้นที่กลางกรุงลอนดอนได้ก่อนที่จะมีกล้องจุลทรรศน์ใช้ ได้รับการยกย่องว่าต้นแบบการนำหลักการทางระบาดวิทยาไปใช้ในการป้องกันและควบคุมการระบาดของอหิวาตกโรคตั้งแต่ยุคก่อนที่เราจะรู้จักตัวเชื้อโรค เป็นเวลา ถึง 20 ปี
30
Jhon Snow, (1854) การศึกษาของ Snow มีขั้นตอนสรุปได้ดังนี้
-การทำแผนที่ที่อยู่ของผู้ป่วยด้วย อหิวาซึ่งเรียกว่า Spot map เพื่อศึกษาการกระจายของผู้ป่วย (Distribution) ว่าตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ไหน แผนที่แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีหนาแน่นอยู่บริเวณหนึ่งกลางกรุงลอนดอน -ตั้งสมมุติฐานไว้ว่า น้ำน่าจะเป็นสาเหตุของการระบาดครั้งนี้ จึงเขียนตำแหน่งของปั๊มน้ำลงในแผนที่ พบว่า ผู้ป่วยส่วนมากอยู่ใกล้บริเวณ Broad street pump มากกว่า ปั๊มน้ำอื่นๆ
31
Jhon Snow, (1854) อัตราตาย จาก Cholera จำแนกตาม Water Supply Companies in the Subdistricts of London, July–August 1854 12 Snow ใช้วิธีการของระบาดวิทยา คือ แสดงการกระจายของโรค (distribution) และศึกษาหาสาเหตุ(determinant) หรือแหล่งที่ทำให้เกิดโรค แม้ขณะนั้นจะยังไม่ทราบสาเหตุจริง คือตัวเชื้อโรค แต่สามารถนำผลการศึกษาไปใช้เพื่อควบคุมโรคอหิวาได้อย่างได้ผล “The Father of Field Epidemiology” “บิดาแห่งระบาดวิทยาภาคสนาม”
33
Snow ใช้ความรู้ด้านอะไรบ้างในการดำเนินงาน
คำถามชวนคิด?? Jhon Snow ทักษะของวิชาชีพใดในการศึกษาปัญหาจนนำไปสู่การควบคุมการระบาดของโรคได้ Snow ใช้ความรู้ด้านอะไรบ้างในการดำเนินงาน
34
บรรณาธิการวารสารพยาบาลสาธารณสุข
35
พระราชบิดากับงานระบาด
บทความชื่อว่า “โรคทุเบอร์คุโลสิส” (วัณโรค) ถูกจัดทำขึ้นใน พ.ศ.2463 โดยสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หลักฐานสำคัญที่กล่าวได้ว่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงเป็นผู้ริเริ่มการต่อต้านวัณโรคในประเทศไทย “สมาคมกองการปราบวัณโรค” นับได้ว่าเป็นองค์การต่อต้านวัณโรคแห่งแรกในประเทศไทย ที่มีจุดเริ่มต้นจากพระราชหัตถเลขา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
37
ธรรมชาติของการเกิดโรค (Natural History of Disease)
ธรรมชาติของการเกิดโรค หมายถึง การดำเนินของโรคตั้งแต่การได้รับปัจจัยเหตุ โรคพัฒนาต่อไปจนเกิดอาการของโรค โดยที่ไม่มีการรักษาหรือการแทรกแซงกระบวนการดำเนินของโรค การเกิดโรคทุกชนิดเป็นไปตามกฎแห่งธรรมชาติของการเกิดโรคซึ่งได้แก่ - โรคเกิดขึ้นจากการเสียสมดุลของปฏิกริยาระหว่างมนุษย์และสิ่งที่ก่อให้เกิดโรค - ลักษณะและความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้นขึ้นอยู่กับปัจจัยในตัวมนุษย์และสิ่งที่ก่อให้เกิดโรคนั้นๆ - ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อลักษณะของมนุษย์และสิ่งก่อโรคในท้องที่หนึ่งๆได้แก่ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
38
ต้นแบบ (Model) ของสาเหตุของการเกิดโรค
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม ต้นแบบ (Model) ของสาเหตุของการเกิดโรค
39
Epidemiologic Triad by Jhon Gordon
มนุษย์ สิ่งแวดล้อม สิ่งก่อโรค Psychosocial agent
41
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
(Host, Agent, Environment)
42
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
(Host, Agent, Environment)
43
ภาวะสมดุลย์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่าง H A และ E เป็นสภาวะที่คนยังไม่เกิดโรค
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม Pre-pathogenesis Period : The system is in balance E A H ภาวะสมดุลย์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่าง H A และ E เป็นสภาวะที่คนยังไม่เกิดโรค
44
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
E A H นศ.จงยกตัวอย่าง
45
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
Agent changes new agent, agent increase, mutation of agent เช่น โรคเอดส์ หรือ เชื้อกลายพันธ์ เช่น วัณโรคเดื้อยา Increase in the ability of an agent to infect and cause disease in man เช่น ไข้หวัดใหญ่ E A H ภาวะที่ไม่สมดุลย์ A เปลี่ยน H และ E คงเดิม
46
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
47
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
A H นศ.จงยกตัวอย่าง
48
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
Host changes คนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคมากขึ้น เช่น สัดส่วนของคนที่มีความไวต่อการติดโรคเพิ่มมากขึ้น เช่น การมีกลุ่มเด็กเล็กๆจำนวนมาก คนมีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้น เช่น ดื่มสุรามากขึ้น A H ภาวะที่ไม่สมดุลย์ H เปลี่ยน A และ E คงเดิม
50
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
51
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
A H นศ.จงยกตัวอย่าง
52
ภาวะที่ไม่สมดุลย์ E เปลี่ยน มีผลต่อ A แต่ H คงเดิม
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม Environmental changes (1) สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนทำให้เชื้อโรคมีปริมาณมากขึ้น เช่น ฤดูฝน ยุงมีมาก เชื้อไข้เลือดออกอาศัยอยู่ในยุง ดังนั้น ฤดูฝนจึงการระบาดของไข้เลือดออกมากกว่าฤดูอื่น A H ภาวะที่ไม่สมดุลย์ E เปลี่ยน มีผลต่อ A แต่ H คงเดิม
55
Seasonal Variation Seasonal variation can be seen for some diseases or conditions falling within a calendar year
56
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
A H นศ.จงยกตัวอย่าง
57
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
Environmental changes (2) Environmental change alters host susceptibility เช่น ประเทศเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมมีโรงงานต่างๆเพิ่มมากขึ้นทำให้เกิดมลพิษและของเสียที่ปล่อยจากโรงงานสู่บรรยากาศการเกิดอุทกภัยวาตภัยที่ทำให้ประชาชนขาดอาหารที่อยู่อาศัยและอื่นๆที่จำเป็นในการดำรงชีพ A H
58
ปฏิกริยาต่อกันของมนุษย์ สิ่งก่อโรค และสิ่งแวดล้อม
64
Incubation period : ระยะเวลาจากเชื้อเข้าสู่ร่างกายจนถึงแสดงอาการชัดเจนนี้เรียกว่าระยะฟักตัว
Latent period: รับเชื้อเข้าร่างกายจนสามารถแพร่เชื้อแต่ยังไม่แสดงอาการ เรียกว่าระยะแฝง Latent period: ในกรณีที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อแต่เกิดจากการสัมผัสสารก่อโรค ระยะเวลาตั้งแต่การสัมผัสสารก่อโรคจนถึงมีอาการ
66
ในบทบาทวิชาชีพของนักศึกษา นักศึกษาจะป้องกันและควบคุมโรคหรือความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ ได้อย่างไรบ้าง
68
ในบทบาทวิชาชีพของนักศึกษา นักศึกษาจะป้องกันและควบคุมโรคหรือความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ ได้อย่างไรบ้าง
70
ประโยชน์หลักๆ ของระบาดวิทยา
บอกธรรมชาติของการเกิดโรค (National history of disease วัดสานะสุขภาพและการเปลี่ยนแปลง (Description of health status and changing in time) หาสาเหตุของโรค (Causation) ประเมินมาตรการ (Evaluation of health intervention) การควบคุมและป้องกันการระบาดของโรค
71
การศึกษาทางวิทยาการระบาดกับงานทางสุขภาพ
วิเคราะห์สถานการณ์ (ระบุปัญหา) ติดตามประเมิณผล หาสาเหตุของปัญหา พัฒนาโปรแกรม/โครงการ นำโปรแกรมไปใช้ในชุมชน ทดลองประสิทธิผล/ประสิทธิภาพของโปรแกรม
72
การศึกษาค้นคว้าที่เป็นขั้นตอนเพื่อตอบคำถามต่อไปนี้
WHAT Distribution WHO WHERE WHEN Determinant HOW WHY SO WHAT ประสิทธิภาพ
73
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การสังเกต การทดลอง When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงวิเคราะห์ Case reports or case series Cross-sectional Ecological Cohort Case-control Cross-sectional survey
74
รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด
1. การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงสังเกต (Observational Study) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยไม่มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยงให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แต่ตัวอย่างนั้นได้รับหรือสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงนั้นอยู่แล้วในการดำเนินชีวิตประจำวัน ผู้วิจัยเฝ้าติดตามสังเกตดูผลที่เกิดขึ้นเนื่องจากการมีหรือสัมผัสปัจจัยเสี่ยงนั้น 2. การศึกษาเชิงทดลอง (Experimental study) เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยมีการกำหนดปัจจัยเสี่ยงหรือกำหนดสิ่งแทรกแซงที่ต้องการให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา ผู้วิจัยติดตามดูผลที่จะเกิดขึ้นจากการได้รับปัจจัยเสี่ยงหรือสิ่งแทรกแซงนั้นไปข้างหน้าใน อนาคต
75
การศึกษาค้นคว้าที่เป็นขั้นตอนเพื่อตอบคำถามต่อไปนี้
WHAT Descriptive study WHO WHERE WHEN HOW WHY Analytic study SO WHAT Experimental study
76
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง การศึกษาย้อนหลัง การศึกษาไปข้างหน้า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
77
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
(Descriptive epidemiologic study)
78
What is descriptive study?
1. เป็นการศึกษาถึง รูปแบบ (pattern) ขนาด (amount) การกระจาย (distribution) Person Place Time
79
เป็นการศึกษาการกระจายของ การเกิดโรค (diseases) การตาย (deaths)
What is descriptive study? เป็นการศึกษาการกระจายของ การเกิดโรค (diseases) การตาย (deaths) การบาดเจ็บ (Injuries) Incidence and Prevalence rate (อัตราอุบัติการณ์และอัตราความชุก)
80
การวัดขนาดของโรค การวัดความชุกของโรค (Prevalence)
= ผู้ป่วยเก่า + ผู้ป่วยใหม่ / จำนวนประชากรทั้งหมด การวัดอุบัติการณ์ของโรค (Incidence) = ผู้ป่วยใหม่ / จำนวนประชากรเสี่ยง
81
เพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์และการตั้งสมมติฐานหาสาเหตุ
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา (Descriptive epidemiologic study) เป็นการศึกษาถึงการกระจาย (Distribution) ของโรคหรือปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนและรู้ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ตามบุคล เวลา และสถานที่ (Person-Place-Time) นำไปสู่การตั้งสมมติฐาน
82
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา ไม่มี การกระทำ ? การสังเกต กลุ่มเปรียบเทียบ ? When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. ไม่มี Descriptive Case reports or case series Ecological Cross-sectional survey
83
Cross sectional study เป็นการสํารวจ หรือการศึกษาเพื่อค้นหาความชุกของโรค (การวัดในระดับบุคคล) เป็นการวัดการได้รับปัจจัย และการวัดการเกิดโรค ในระดับบุคคลแต่ละคน สามารถได้ปริมาณความชุกของโรค (prevalence of disease) และความชุกของปัจจัย (prevalence of exposure) ในประชากรที่ศึกษา
84
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา Cross sectional study
ประโยชน์ของการศึกษาภาคตัดขวาง นำไปใช้ในชุมชน ได้แก่ การวินิจฉัยอนามัยชุมชน การเฝ้าระวังโรค การให้สุขศึกษา การมีส่วนร่วมของชุมชน และการประเมินผลสุขภาพในชุมชน นำไปใช้ในคลินิก เพื่อดูแลสุขภาพเฉพาะราย ครอบครัว และการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานในชุมชน เป็นต้น ทำให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ และการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในเรื่องที่ศึกษา เพื่อนำไปสู่การศึกษาเพื่อหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค / กลุ่มอาการ (etiology)
89
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? การสังเกต การทดลอง ไม่มี มี กลุ่มเปรียบเทียบ ? When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. ไม่มี มี การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงวิเคราะห์ Case reports or case series Cross-sectional Ecological Cohort Case-control Cross-sectional survey
90
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? ไม่มี การสังเกต กลุ่มเปรียบเทียบ ? ไม่มี When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. การศึกษาเชิงพรรณนา Case reports or case series Ecological Cross-sectional survey
91
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? ไม่มี การสังเกต กลุ่มเปรียบเทียบ ? มี When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. Analytical Cross-sectional Cohort Case-control
92
วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์ (Analytic epidemiologic study)
93
เพื่อการวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค
วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์ (Analytic epidemiologic study) เป็นวิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยหนึ่งๆกับการเกิดโรค (Determinants) โดยมุ่งพิสูจน์ว่า ปัจจัยนั้นๆอาจเป็นสาเหตุของโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้นๆของคนในชุมชนได้หรือไม่
94
Using epidemiology to identify the cause of disease
Effect Cause RISK FACTOR Cigarette DISEASE Lung Cancer 94
96
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? ไม่มี การสังเกต กลุ่มเปรียบเทียบ ? When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. มี Analytical Cross-sectional Cohort Case-control
97
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง การศึกษาย้อนหลัง การศึกษาไปข้างหน้า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
98
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง อดีต ปัจจุบัน อนาคต Exposure Outcome
99
การศึกษาภาคตัดขวาง (Cross sectional study)
100
ประชากรที่สนใจทั้งหมด ไม่มีโรค & ไม่มีปัจจัย
รูปแบบการศึกษา Cross sectional study มีโรค & มีปัจจัย ประชากรที่สนใจทั้งหมด Exposure มีโรค & ไม่มีปัจจัย กลุ่มตัวอย่าง ไม่มีโรค & มีปัจจัย Outcome ไม่มีโรค & ไม่มีปัจจัย D+ D- E+ a b E- c d
101
ตัวอย่าง : การออกกำลังกายกับโรคหลอดเลือดหัวใจ
รูปแบบการศึกษา Cross sectional study ตัวอย่าง : การออกกำลังกายกับโรคหลอดเลือดหัวใจ การศึกษาอัตราความชุกการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ กับการไม่ออกกำลังกายจากการสุ่มตัวอย่าง 179 ราย พบว่ามีผู้ไม่ออกกำลังกาย 89 ราย (เป็นผู้ป่วย 14 ราย, ไม่เป็นผู้ป่วย 75 ราย) มีผู้ที่ออกกำลังกาย 90 ราย (เป็นผู้ป่วย 3 ราย, ไม่เป็นผู้ป่วย 87 ราย)
102
การออกกำลังกายกับโรคหลอดเลือดหัวใจ
รวม ออกกำลังกาย ไม่ออกกำลังกาย ไม่ป่วย ป่วย ป่วย ไม่ป่วย รวม ไม่ออกกำลังกาย 162 17 90 87 3 89 75 14 ออกกำลังกาย รวม 179 Prevalence (ความชุก) ทั้งหมด = 17/162= 10.49% Prevalence (ความชุก) ในกลุ่มที่ไม่ออกกำลังกาย = 14 / 89 = 15.7% Prevalence (ความชุก) ในกลุ่มที่ออกกำลังกาย = 3/ 90 = 3.3% Prevalent ratio = 4.7
104
การศึกษาภาคตัดขวาง (Cross sectional study)
ข้อดี ข้อเสีย @ ประหยัดค่าใช้จ่าย @ ทำได้ง่าย ได้ผลรวดเร็ว @ ไม่สามารถบอกได้ว่าสาเหตุหรือปัญหาอะไรมาก่อนมาหลัง
105
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง อดีต ปัจจุบัน อนาคต Exposure Outcome
106
Analytic epidemiologic study
การศึกษาไปข้างหน้า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
107
การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY
110
การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY
เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย (Exposure) กับ โรคหรือปัญหาสุขภาพ (Outcome) นักวิจัยทำการคัดเลือกกลุ่มคนที่มีปัจจัยมากลุ่มหนึ่ง (กลุ่มศึกษา) และคัดเลือกคนที่ไม่มีปัจจัยมาอีกกลุ่มหนึ่ง (กลุ่มเปรียบเทียบ) ทั้งสองกลุ่มจะเป็นคนที่ไม่ป่วยด้วยโรคนั้นในขณะที่เริ่มทำการ ทำการติดตามไประยะเวลาหนึ่งเพื่อศึกษาว่า ทั้งสองกลุ่มมีการเกิดโรค (Incidence) แตกต่างกันหรือไม่
111
(ไม่เป็นโรค+ มีปัจจัย) (ไม่เป็นโรค+ ไม่มีปัจจัย)
D+ D- E+ a b E- c d การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY ประชากรที่สนใจ เกิดโรค กลุ่มศึกษา (ไม่เป็นโรค+ มีปัจจัย) Follow up ไม่เกิดโรค เกิดโรค Follow up กลุ่มเปรียบเทียบ (ไม่เป็นโรค+ ไม่มีปัจจัย) ไม่เกิดโรค เริ่มการศึกษา
112
การศึกษาแบบไปข้างหน้า Ex:การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
คน กทม. อายุ 45 – 60 ปี เริ่มการศึกษา
113
ไม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
การศึกษาแบบไปข้างหน้า Ex:การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ คน กทม. อายุ 45 – 60 ปี เกิดโรคหัวใจฯ ไม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ สูบบุหรี่ ติดตาม 10 ปี ไม่เกิดโรคหัวใจฯ เกิดโรคหัวใจฯ ติดตาม 10 ปี - ไม่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ - ไม่สูบบุหรี่ ไม่เกิดโรคหัวใจฯ เริ่มการศึกษา
114
การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY
การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ปัจจัย โรค รวม Incidence Rate (%) เป็น ไม่เป็น ได้รับ a b a+b Ie= a/a+b ไม่ได้รับ c d c+d Io=c/c+d a+c b+d n 1. การคำนวนหา อัตราอุบัติการณ์ (I) อัตราอุบัติการณ์ ของกลุ่มรับปัจจัย (Ie) = อัตราอุบัติการณ์ ของกลุ่มไม่ได้รับปัจจัย (Io) = a a+b X 100 c c+d X 100
115
การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY
2. การคำนวนหาความสัมพันธ์ ♣ Relative Risk (ความเสี่ยงสัมพัทธ์) = Ie Io เพื่อดูว่าอัตราอุบัติการณ์ของกลุ่มที่ได้รับสิ่งที่คิดว่าน่าจะเป็นสาเหตุของโรค เป็นกี่เท่า ของอัตราอุบัติการณ์ของกลุ่มที่ไม่ได้รับสิ่งที่เป็นสาเหตุนั้น
116
การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY
ตัวอย่างผลการศึกษา การสูบบุหรี่ โรคหลอดเลือดหัวใจ รวม เป็น ไม่เป็น สูบ 3,500 150,000 153,500 ไม่สูบ 500 50,000 50,500 4,000 200,000 204,000 ค่าที่ต้องคำนวนได้จากศึกษา ♣ Incidence Rate (Ie ,Io) ♣ Relative Risk
119
การศึกษาแบบไปข้างหน้า COHORT STUDY
ข้อดี ข้อเสีย @ มีความน่าเชื่อถือที่สุดในรูปแบบการศึกษาแบบ Analytical study @ มีประโยชน์ในกรณีที่ปัจจัยที่จะทำให้เกิดโรคพบน้อย @ เสียค่าใช้จ่ายมาก ค่อนข้างแพง เสียเวลานาน @ ปัจจัยที่สัมผัสเปลี่ยนไปตามกาลเวลา @ ความรู้ใหม่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา
120
Analytic epidemiologic study
การศึกษาย้อนหลัง อดีต ปัจจุบัน อนาคต
121
การศึกษาแบบย้อนกลับ (CASE CONTROL STUDY)
124
การศึกษาแบบย้อนกลับ (CASE CONTROL STUDY)
โรคหรือผลต่างๆ ที่ต้องการศึกษาได้เกิดขึ้นแล้วก่อนที่จะลงมือศึกษา กลุ่มที่นำมาศึกษามี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เป็นโรคที่ต้องการศึกษา (Case group) และ กลุ่มที่ไม่มีภาวะหรือโรคดังกล่าว (Control group) เปรียบเทียบ “อัตราส่วนการได้รับปัจจัยต่อการไม่ได้รับปัจจัย” ระหว่างกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบว่าแตกต่างกันหรือไม่
125
การศึกษาแบบย้อนกลับ มีปัจจัย CASE (เป็นโรค) ไม่มีปัจจัย มีปัจจัย
D+ D- E+ a b E- c d การศึกษาแบบย้อนกลับ Case population มีปัจจัย CASE (เป็นโรค) ไม่มีปัจจัย Non Case population มีปัจจัย CONTROL (ไม่เป็นโรค) ไม่มีปัจจัย เริ่มการศึกษา
126
เริ่มการศึกษา การศึกษาแบบย้อนกลับ Ex:การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหัวใจฯ
คน กทม. ที่อายุ 45 – 60 ปี สอบถามถึงพฤติกรรม เริ่มการศึกษา
127
กลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจฯ กลุ่มผู้ที่ไม่ป่วยด้วยโรคหัวใจฯ
การศึกษาแบบย้อนกลับ Ex:การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหัวใจฯ คน กทม. ที่อายุ 45 – 60 ปี สูบบุหรี่ กลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจฯ ไม่สูบบุหรี่ สอบถามถึงพฤติกรรม สูบบุหรี่ กลุ่มผู้ที่ไม่ป่วยด้วยโรคหัวใจฯ ไม่สูบบุหรี่ เริ่มการศึกษา
128
การศึกษาแบบย้อนกลับ การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ การคำนวนหาความสัมพันธ์
Odds Ratio = = a / c b / d a.d b.c ปัจจัย โรค เป็น ไม่เป็น ได้รับ a b ไม่ได้รับ c d รวม a+c b+d
129
การศึกษาแบบย้อนกลับ a.d b.c
ตัวอย่าง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การสูบบุหรี่กับโรคหลอดเลือดหัวใจ การคำนวนหาความสัมพันธ์ Odds Ratio = = a.d b.c สูบบุหรี่ โรคหัวใจฯ เป็น ไม่เป็น สูบ 175 375 ไม่สูบ 25 125 รวม 200 500 175x125 375x25 = นั่นคือ ผู้ที่สูบบุหรี่จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจเป็น 2.3 เท่า ของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
131
การศึกษาแบบย้อนกลับ เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย ของการศึกษาแบบ Case control study ข้อดี ข้อเสีย @ มีประโยชน์มากในกรณีของโรคที่พบยาก @ ทำได้ง่าย ได้ผลรวดเร็ว @ ประหยัดค่าใช้จ่าย @ มีประโยชน์น้อย ในกรณีปัจจัยที่สัมผัสพบน้อย (rare exposure) @Recall Bias/recall error
132
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? ไม่มี การสังเกต กลุ่มเปรียบเทียบ ? When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. ไม่มี มี Descriptive Analytical Case reports or case series Cross-sectional Ecological Cohort Case-control Cross-sectional survey
133
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? การสังเกต การทดลอง ไม่มี มี กลุ่มเปรียบเทียบ ? When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. ไม่มี มี การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงวิเคราะห์ Case reports or case series Cross-sectional Ecological Cohort Case-control Cross-sectional survey
134
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง การศึกษาย้อนหลัง การศึกษาไปข้างหน้า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
135
การศึกษาเชิงทดลอง (EXPERIMENTAL STUDY)
136
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง การศึกษาย้อนหลัง การศึกษาไปข้างหน้า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
137
การศึกษาเชิงทดลอง(EXPERIMENTAL STUDY)
เป็นการศึกษาแบบติดตามไปข้างหน้า (Cohort study) เป็นการศึกษาที่นักวิจัยสามารถกำหนดสิ่งทดลองให้กับผู้ที่อยู่ในการศึกษาได้ และการกำหนดปัจจัยว่า ผู้ใดจะได้รับหรือไม่ได้รับ ต้องเป็นการกำหนดแบบสุ่ม (random) ผู้ถูกศึกษาจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม (หรือมากกว่า) ตามลักษณะการได้รับปัจจัย ติดตามไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อสังเกตผลหรือปรากฏการณ์ที่สนใจ
138
(ไม่มีปัจจัยและ outcome) กำหนดให้ได้รับปัจจัย กำหนดให้ไม่ได้รับปัจจัย
D+ D- E+ a b E- c d การศึกษาเชิงทดลอง ประชากรที่ศึกษา (ไม่มีปัจจัยและ outcome) เกิด out come กำหนดให้ได้รับปัจจัย Follow up ไม่เกิด out come Random allocation เกิด out come Follow up กำหนดให้ไม่ได้รับปัจจัย ไม่เกิด out come เริ่มการศึกษา
139
ผู้ป่วยมะเร็งระยะ เริ่มแรก
การศึกษาเชิงทดลอง Ex. การทดลองยากับผลการรักษาโรค ผู้ป่วยมะเร็งระยะ เริ่มแรก หาย ยาทดลอง Follow up ไม่หาย Random allocation หาย ยาเทียม (Placebo) Follow up ไม่หาย เริ่มการศึกษา
140
วัคซีนป้องกันอีสุกอีใส วัคซีนเทียม (Placebo)
การศึกษาเชิงทดลอง Ex. การทดลองวัคซีนกับการป้องกันโรค เด็ก เดือน เป็น วัคซีนป้องกันอีสุกอีใส Follow up ไม่เป็น Random allocation เป็น Follow up วัคซีนเทียม (Placebo) ไม่เป็น เริ่มการศึกษา
141
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Classification of study design)
ประเภทของการศึกษา การกระทำ ? การสังเกต การทดลอง ไม่มี มี กลุ่มเปรียบเทียบ ? When we consider the study design or type of study, the first question is; Is there any intervention assigned to subjects or samples. The example of intervention is Drug ‘A’ that give to subjects in the study. (click). If there is/are interventions, that study is experimental study. But if no, it is observational study.(click). Then the next question is; Is there comparison group? If no, that study is a descriptive study. But if yes, it is an analytical study. The analytical study can be divided into ecological study, cross-sectional study, case-control study, and cohort study. ไม่มี มี การศึกษาเชิงพรรณนา การศึกษาเชิงวิเคราะห์ Case reports or case series Cross-sectional Ecological Cohort Case-control Cross-sectional survey
142
Analytic epidemiologic study
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง การศึกษาย้อนหลัง การศึกษาไปข้างหน้า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
143
Hierarchy of Epidemiological studies
Clinical Trial Cohort Cross-sectional / Case control Cross-sectional Case series Case report Experiment Analytic Descriptive
144
นักศึกษาจะศึกษาอย่างไรดีคะ
ถ้าอยากทราบว่า 1. ความชุก/อัตราอุบัติการณ์โรคมะเร็งปอดเท่ากับเท่าไร? 2. การสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งปอดหรือไม่? นักศึกษาจะศึกษาอย่างไรดีคะ
145
สรุปบทนำ ระบาดวิทยา คือ วิวัฒนาการของระบาดวิทยา คือ องค์ประกอบของโรคและการเกิดโรค คือ ธรรมชาติการเกิดโรค คือ ประโยชน์ของระบาดวิทยาในการทำงานประกอบด้วย การป้องกันควบคุมโรคประกอบด้วย
146
พบกับความสนุก น่าเรียนรู้ในชั่วโมงต่อไป
อย่าลืมนำ มาด้วยนะคะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.