ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561
การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2
ความหมาย “ทะเบียนเกษตรกร”
ทะเบียนเกษตรกร คือ ข้อมูลของครัวเรือนผู้ประกอบการเกษตร ที่แสดงถึงสถานภาพและการประกอบอาชีพทางการเกษตรของครัวเรือน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน 2) สมาชิกในครัวเรือน 3) การถือครองที่ดินเพื่อการเกษตร 4) การประกอบกิจกรรมการเกษตร 5) การเข้าร่วมโครงการภาครัฐ 6) รายได้ 7) หนี้สิน 8) เครื่องจักรกลการเกษตร และ 9) แหล่งน้ำ ครัวเรือน หมายถึง ครอบครัวที่อยู่ในบ้านเรือนเดียวกัน ใช้เลขประจำบ้าน (ตามทะเบียนบ้าน) เดียวกัน
3
ประโยชน์ทะเบียนเกษตรกร
ใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นในการส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายและมาตรการต่างๆ ของภาครัฐ ใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์และคาดการณ์การผลิตทางการเกษตร ใช้ในการตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยธรรมชาติ ให้บริการหน่วยงานต่างๆ ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรมีประวัติการประกอบกิจกรรมการเกษตร และสามารถใช้วางแผนการผลิตของครัวเรือน
4
ข้อกำหนดเบื้องต้นในการใช้ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
เกษตรกรทุกครัวเรือนมีสิทธิ์แจ้งขึ้นทะเบียนได้ และเป็นการแจ้งโดยสมัครใจ เป็นข้อมูลของเกษตรกรที่ปลูกพืช เลี้ยงปศุสัตว์พื้นฐาน เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำพื้นฐาน ทำนาเกลือสมุทร และเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจเท่านั้น เกษตรกรสามารถแจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงข้อมูลหลังปลูก 15 วัน และไม่เกิน 60 วัน เป็นข้อมูลที่บันทึกตามที่ได้รับแจ้งจากเกษตรกร จึงไม่ใช่ข้อมูลเพื่อการรับรองความเป็นเกษตรกรหรือรับรองการประกอบกิจกรรมการเกษตรของครัวเรือน ข้อมูลการถือครองที่ดิน ไม่ได้จำกัดในเรื่องการมี/ไม่มีที่ดินเป็นของตนเองและการมี/ไม่มีเอกสารสิทธิ์ เป็นข้อมูลที่อ้างอิงได้กับรหัสทะเบียนบ้านและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง
5
ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเกษตรกร
ขึ้นทะเบียนตามความสมัครใจ ของเกษตรกร ไม่มีกฎหมาย ระเบียบ บังคับ ขึ้นทะเบียนเป็นรายครัวเรือน มีตัวแทนมาขอขึ้นทะเบียน 1 คน ผู้มาขอขึ้นทะเบียนจะต้อง บรรลุนิติภาวะ มีสัญชาติไทย เป็นผู้ประกอบกิจกรรมการเกษตร เป็นอาชีพหลัก หรือ อาชีพรอง ก็ได้ สามารถขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรได้ตลอดเวลา เกษตรกรแจ้งข้อมูล เพื่อขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงข้อมูล ตรวจสอบ (ประชาคม) ออกสมุดทะเบียนเกษตรกร/ รายงานผล 1 2 3
6
การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2560
ปรับกรอบระยะเวลาการปลูกข้าวตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ เริ่มตั้งแต่เดือน เมษายน เป็นต้นไป ปรับกรอบระยะเวลาในการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงพืชสำคัญให้กระชับ เพื่อให้ได้ข้อมูลไปใช้ประโยชน์รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น การแจ้งปลูกข้าว ต้องแจ้งหลังปลูกภายใน วัน เพิ่มการจัดเก็บข้อมูลเครื่องจักรกลการเกษตร 9 หมวด คือ 1) เครื่องต้นกำลัง 2) เครื่องมือเตรียมดิน 3) เครื่องปลูก/เครื่องมือหยอด 4) เครื่องมือดูแลรักษา 5) เครื่องมือเก็บเกี่ยว 6) เครื่องสูบน้ำ 7) รถบรรทุกการเกษตร 8) เครื่องมือหลังการเก็บเกี่ยว 9) ระบบให้น้ำทางท่อ
7
การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร
8
การขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
เกษตรกรมาแจ้งหลังปลูก 15 วัน รณรงค์ให้ อกม. จัดเก็บ เพิ่มเติม FAARMis PC สำนักงานเกษตรอำเภอ เครื่องอ่านบัตรsmart card หลักฐาน บัตรประชาชน สำเนาเอกสารสิทธิ์(พื้นที่ใหม่) สัญญาเช่า(พื้นที่ใหม่) แบบคำร้อง ทบก 01(รายใหม่) หน่วยประมวลผลกลาง กสก
9
จัดพิมพ์รายชื่อ และข้อมูลการแจ้งปลูก
การตรวจสอบ จัดพิมพ์รายชื่อ และข้อมูลการแจ้งปลูก รายเดิม รายใหม่/แปลงใหม่ ติดประกาศรายชื่อ ในชุมชน ที่ประชาชนมองเห็นสะดวก FAARMis/GISagro/Qgis วัดพิกัดแปลงด้วยGPS คัดค้าน ไม่คัดค้าน ถูกต้อง
10
เกษตรกรต้องแจ้งปลูกข้าวหลังปลูก 15 - 60 วัน
กรอบระยะเวลา ปี 2560 เกษตรกรต้องแจ้งปลูกข้าวหลังปลูก วัน
11
กรอบระยะเวลา ปี 2560 (ต่อ)
12
กรอบระยะเวลา ปี 2560 (ต่อ)
13
แบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร
ในแบบคำร้องจะมีข้อความ 3 หน้า ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเครื่องจักรกลการเกษตร ข้อมูลการประกอบกิจกรรมการเกษตร 1
14
แบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร
3 2
15
สมุดทะเบียนเกษตรกรและรายงานผลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
สมุดทะเบียนเกษตรกร ถือว่าเป็นเอกสารที่ใช้แสดงสถานภาพ การเป็นเกษตรกร ออกให้ภายหลังจากที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกรเรียบร้อยแล้ว ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน การถือครองที่ดิน ข้อมูลกิจกรรมการเกษตร
16
รายงานจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
เจ้าหน้าที่สามารถเรียกดูรายงานได้จากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร โดยเลือกเมนู รายงาน แล้วคลิกเลือกรายงานที่ต้องการ
17
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2560/61
ครม. มีมติเมื่อวันที่ 19 กันยายน เรื่อง การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพ ข้าวให้แก่เกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2560/61 กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2560/61 ที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวฯ ปีการผลิต 2560/61 กับกรมส่งเสริมการเกษตร วิธีการช่วยเหลือ โดยจ่ายเงินช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า และข้าวปทุมธานี 1 ในอัตราไร่ละ 1,200 บาท ไม่เกินรายละ 10 ไร่
18
การตรวจสอบสิทธิ์ของเกษตรกร
19
การขอรับความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติด้านพืช
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556
20
การรายงานสถานการณ์เบื้องต้น
เมื่อเกิดภัยพิบัติ อำเภอรายงานเหตุด่วนสาธารณภัยให้จังหวัด เพื่อเสนอคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ. พิจารณาร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดในการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
22
เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการ ก. ช. ภ. จ
เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ.มีมติ ให้ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน อำเภอประกาศ ให้เกษตรกรยื่นแบบความ จำนงขอรับความช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช (แบบ กษ.01)
23
แบบยื่นความจำนงขอรับความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช
แบบ กษ 01 4. พื้นที่ปลูก 5. พื้นที่ได้รับความเสียหาย (ทั้งหมด) 6. พื้นที่ขอรับความช่วยเหลือ (ไม่เกิน 30 ไร่)
24
7. รับรองข้อมูลความเสียหาย
ผู้รับรอง ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน นายก อบต. นายกเทศมนตรี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.