ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNatividad Flores ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Environmental Health Accreditation : EHA) EHA : การจัดการมูลฝอยทั่วไป EHA : การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ EHA : การจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตรายจากชุมชน
2
การจัดการมูลฝอยตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข
กรมอนามัย Department of Health มูลฝอย มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560 กฎกระทรวงว่าด้วย การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 (ร่าง) กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน พ.ศ. .... กฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาต หนังสือรับรองการแจ้งและการให้บริการในการจัดการ สิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. 2559 บทบาทและหน้าที่ของ อปท. ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข ดำเนินการเก็บ ขน และกำจัดเอง หรือมอบให้ผู้อื่นดำเนินการแทน (ม.18) อนุญาตให้เอกชนรับทำเก็บขนและกำจัดโดยทำเป็นธุรกิจได้ (ม.19) ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นกำหนดวิธีการเก็บ ขน กำจัดให้ ปชช. และ ผปก. ปฏิบัติได้ (ม.20)
3
การประเมินรับรอง หัวข้อประเมิน พื้นฐาน % เกียรติบัตร %
องค์ประกอบที่ 1-5 (LPA) 60 80 องค์ประกอบที่ 6 การจัดการกระบวนการ องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์
4
การจัดการกระบวนการ (องค์ประกอบที่ 6)
กระบวนการการจัดการขยะ ทั่วไป อตร. ติดเชื้อ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ 10 5 2.สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอย 3. ประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ในการจัดบริการ 4. เสนอผู้บริหาร 5. กำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์มาตรฐาน วิธีการ และค่าธรรมเนียม 6. การคัดแยกมูลฝอย 7. การเก็บ ขน มูลฝอย 15 20 8. การกำจัดมูลฝอย 9. เฝ้าระวังผลกระทบ 10. ประเมินผลกระบวนการคัดแยก เก็บ ขน และกำจัดมูลฝอย 11. ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการดำเนินงาน รวม 100 ระยะเตรียมการ ระยะดำเนินการ ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์
5
กำจัด - เพิ่ม วศ.ด้านสุขาภิบาล/สิ่งแวดล้อม/เครื่องกล
ขั้นตอน หลักฐาน 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ คำสั่งแต่งตั้งหรือส.มอบเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการจัดการมูลฝอย 1.1 มีความรู้ทางด้านสาธารณสุข (อนามัยสิ่งแวดล้อม) หรือวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หรือวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมหรือ“ผู้ควบคุมกำกับการจัดการมูลฝอยทั่วไป” ตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ควบคุมกำกับในการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ (กรณีมูลฝอยทั่วไป) หรือผ่านการอบรมหลักสูตรด้านการจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษฯหรือมีประสบการณ์ในการทำงานอย่างน้อย 1 ปี (กรณีมูลฝอยอตร.) 1.2 กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบและคณะทำงานในการดำเนินการจัดการมูลฝอย มาตรฐาน 1. มีความรู้ทางด้านสาธารณสุข 2. กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบและคณะทำงาน 5 มูลฝอยติดเชื้อ จนท.มีคุณสมบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 2545 เก็บ/ขน - ป.ตรีหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชา วท.ด้านสาธารณสุข/สุขาภิบาล/ชีววิทยา/การแพทย์ด้านใดด้านหนึ่ง กำจัด เพิ่ม วศ.ด้านสุขาภิบาล/สิ่งแวดล้อม/เครื่องกล ถ้าเป็นหน่วยงานหรือสถานบริการสธ.รัฐ วท.หรือ วศ. ที่กำหนด และอาจตั้งบุคคลภายนอกที่มีคุณสมบัติได้
6
ขั้นตอน หลักฐาน 2. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการ มูลฝอยทั่วไป
2. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการ มูลฝอยทั่วไป 1. รายงานหรือข้อมูลสถานการณ์การจัดการมูลฝอยทั่วไป - ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นต่อวัน - องค์ประกอบของมูลฝอย - สภาพปัญหา -การคาดการณ์ปริมาณมูลฝอยในอนาคต 2. ข้อมูลการให้บริการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยในปัจจุบัน - ความถี่ เส้นทางการเก็บขน ช่วงเวลาการเก็บขน - จำนวนผู้ปฏิบัติงาน และยานพาหนะเก็บขน - ปริมาณมูลฝอยที่เก็บ ขน กำจัด มาตรฐาน ฐานข้อมูลครอบคลุมประเด็น ดังนี้ 1. ปริมาณ องค์ประกอบ อัตราการเกิดมูลฝอยทั่วไป รวมทั้งการคาดการณ์ปริมาณมูลฝอยที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 2. การให้บริการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยในปัจจุบัน เช่น - ความถี่และเส้นทางการเก็บ ขน - จำนวนผู้ปฏิบัติงานและยานพาหนะเก็บขน เป็นต้น 6
7
ขั้นตอน หลักฐาน 2. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อ
2. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อ - สถานการณ์การจัดการ (เก็บ ขน และกำจัด) ในปัจจุบัน - จำนวนแหล่งกำเนิด - ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อแบ่งออกเป็นแต่ละแหล่งกำเนิด โดยจัดทำเป็นฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ - ทะเบียนสถานบริการการสาธารณสุขและแหล่งกำเนิดอื่นๆ ที่เป็นปัจจุบัน มาตรฐาน ฐานข้อมูลครอบคลุมประเด็น ดังนี้ -จำนวนแหล่งกำเนิด -ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ -วิธีการเก็บขน และกำจัด -ทะเบียนสถานบริการการสาธารณสุขและแหล่งกำเนิดอื่นๆ ภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ อปท. 7
8
ขั้นตอน หลักฐาน 2. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน 1. แหล่งกำเนิดที่สำคัญ 2. ประเภทมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน 3. ปริมาณมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนที่ เกิดขึ้นหรือเก็บรวบรวมได้ มาตรฐาน ฐานข้อมูลครอบคลุมประเด็น ดังนี้ 1. ข้อมูลแหล่งกำเนิดที่สำคัญอื่นๆ นอกจากบ้านเรือน เช่น ร้านซ่อมรถ ร้านแต่งผมเสริมสวย ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น 3. ปริมาณมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนที่เกิดขึ้นหรือเก็บรวบรวมได้ 8
9
ขั้นตอน หลักฐาน 3. ประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ใน การจัดบริการเก็บ ขน และกำจัด เอกสารหรือรายงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการมูลฝอยในพื้นที่ ( สาเหตุหรือที่มาในการเลือกใช้วิธีการจัดการมูลฝอย ตั้งแต่ การคัดแยก เก็บ ขน และกำจัด ตามบริบทของพื้นที่ ) - ปัญหาอุปสรรค ความพร้อม และความเป็นไปได้ในการจัดระบบบริการเก็บ ขนและกำจัดมูลฝอย (พิจารณาจากบุคลากร ความรู้ งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยี วิธีการจัดการ เป็นต้น) (วิเคราะห์ ข้อดี ข้อด้อย ในการจัดการมูลฝอยแต่ละวิธี ทางด้านบุคลากร งบประมาณ และตามบริบทของพื้นที่) มาตรฐาน ใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์สถานการณ์การจัดการมูลฝอย 9 ตย. 1. เทศบาล A. อนุญาตให้บริษัท B เข้ามาเก็บและขนมูลฝอยทั่วไปในเขตพื้นที่เทศบาล เนื่องจากเทศบาลยังไม่มีเก็บ ขน มูลฝอยทั่วไป โดยเทศบาล A ควบคุมกำกับให้ บริษัท B ปฏิบัติอย่างถูกต้อง ตย. 2. เทศบาล A. มีการขนมูลฝอยไปกำจัดร่วมกับ เทศบาล B เนื่องจากไม่มีระบบกำจัดมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
10
ขั้นตอน หลักฐาน 4. เสนอผู้บริหาร รายงาน/เอกสารแสดงข้อสรุปการตัดสินใจผู้บริหาร/ นโยบาย ที่แสดงถึงการเลือกแนวทางจัดบริการเก็บ ขนและกำจัด เช่น โครงการ การทำข้อตกลงร่วมกับ อปท. อื่น เป็นต้น ซึ่งตัดสินใจเลือกรูปแบบใดหนึ่งใน 4 รูปแบบ ได้แก่ - ดำเนินการเอง - มอบให้ผู้อื่นดำเนินการ - อนุญาตให้ผู้อื่นดำเนินการ - ร่วมดำเนินการกับอปท. อื่น มาตรฐาน มีการเสนอรูปแบบการจัดการมูลฝอยตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และกฎหมายกำหนด 10 นำผลการประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ในการจัดบริการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยทั่วไป นำเสนอผู้บริหารเพื่อการตัดสินใจ
11
( มูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อ)
ขั้นตอน หลักฐาน 5. กำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์มาตรฐาน วิธีการ และค่าธรรมเนียมในการให้บริการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอย มาตรฐาน - กำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์มาตรฐาน และวิธีการฯ ตามกฎกท.สุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ / กฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ / และตามหลักวิชาการสำหรับมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออตร.ในชุมชน - กำหนดค่าธรรมเนียมฯ ตามกฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาต หนังสือรับรองการแจ้ง และการให้บริการในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. 2559 ข้อบัญญัติท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐาน วิธีการจัดการ และ ค่าธรรมเนียมการให้บริการเก็บ ขนและกำจัดมูลฝอย 11 ( มูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อ)
12
ขั้นตอน หลักฐาน/ตัวอย่าง
6. การคัดแยก มูลฝอยทั่วไป ณ แหล่งกำเนิด มาตรฐาน อย่างน้อย 2ประเภท ได้แก่ 1. มูลฝอยนำกลับมาใช้ใหม่ (รีไซเคิล) 2. มูลฝอยทั่วไปประเภทอื่นๆ 1.เอกสารกำหนดมาตรฐานวิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติงานในการคัดแยกมูลฝอย 2. ภาพถ่ายแสดงการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป 12
13
ขั้นตอน หลักฐาน/ตัวอย่าง
6. การคัดแยกมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน มาตรฐาน การคัดแยกมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย ดังนี้ 1. ประเภทหลอดไฟ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟชนิดอื่นๆ 2. ประเภทถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ เช่น ถ่านไฟฉาย ถ่านกระดุม แบตเตอรี่รถยนต์ แบตเตอรี่โทรศัพท์เคลื่อนที่ แบตเตอรี่กล้องดิจิตอล เป็นต้น 3. ประเภทภาชนะบรรจุสารเคมี เช่น กระป๋องสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสี และขวดน้ำยาล้างห้องน้ำ ภาชนะบรรจุน้ำมันปิโตรเลียม ตลับหมึกพิมพ์ เป็นต้น 4. ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 5.ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1.เอกสารกำหนดมาตรฐานวิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติงานในการคัดแยกมูลฝอย 2.ภาพถ่ายแสดงจุดรวบรวมมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนในชุมชน 13
14
ขั้นตอน หลักฐาน/ตัวอย่าง
6. ควบคุมกำกับ การคัดแยก เก็บรวบรวม เคลื่อนย้าย และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ภายในสถานบริการการสาธารณสุข มาตรฐาน การควบคุมกำกับ การคัดแยก เก็บรวบรวม เคลื่อนย้าย และกำจัดภายในสถานบริการการสาธารณสุขให้เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ และประกาศกระทรวงอื่นที่เกี่ยวข้อง การควบคุมกำกับให้ผู้ปฏิบัติงานฯ ภายในสถานบริการสาธารณสุข ต้องผ่านการฝึกอบรมฯ มีรายงาน/แผนงานการควบคุมกำกับการดำเนินการคัดแยก เก็บรวบรวม เคลื่อนย้าย และกำจัดภายในสถานบริการการสาธารณสุข 14
15
- มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ - ผู้ปฏิบัติงานเก็บและขน - ยานพาหนะ
ขั้นตอน หลักฐาน 7. การเก็บ ขน มูลฝอยทั่วไป มาตรฐาน ต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติของท้องถิ่นหรือกฎกท.สุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ และประกาศกท.เกี่ยวข้องได้แก่ ประกาศฯ เรื่อง กำหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ควบคุมกำกับในการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ และ ประกาศฯ เรื่อง กำหนดมาตรการการควบคุมกำกับการขนมูลฝอยทั่วไปเพื่อป้องกันการลักลอบทิ้ง พ.ศ.2560 เอกสารแสดงมาตรฐานวิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติงานเก็บ ขน มูลฝอยทั่วไป 2. รายงาน/แผนงานการดำเนินการเก็บ ขน มูลฝอยทั่วไป และปริมาณมูลฝอยทั่วไปที่เก็บขน 15 - มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ - ผู้ปฏิบัติงานเก็บและขน - ยานพาหนะ - การดำเนินการขน (กำหนดวันขน แยกขน สถานีขนถ่าย)
16
ขั้นตอน หลักฐาน - มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ - ผู้ปฏิบัติงานเก็บและขน
7. การเก็บ ขน มูลฝอยติดเชื้อ มาตรฐาน - การเก็บ ขนมูลฝอยติดเชื้อ ต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 - ผู้ปฏิบัติงานผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ 1.รายงาน/แผนงานการดำเนินการเก็บ ขน มูลฝอยติดเชื้อ และปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เก็บขน 2.แผนการ/วิธีการ/ผลการตรวจติดตามควบคุมกำกับการเก็บ ขน 16 - มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ - ผู้ปฏิบัติงานเก็บและขน - ยานพาหนะ (เฉพาะ,มีป้ายระบุ,ปิดทึบไม่รั่ว,T,ที่จอดเฉพาะ ) - การดำเนินการขน (เอกสารกำกับ,กำหนดเส้นทาง เวลา, ระบุสถานที่กำจัด, มีเครื่องมือสื่อสาร &อุปกรณ์ทำความ สะอาด,ล้างรถ)
17
ขั้นตอน หลักฐาน 7. การเก็บ ขน มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
มาตรฐาน การเก็บ ขน มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือตามหลักวิชาการ 1.รายงาน/แผนงานการดำเนินการเก็บ ขน มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน และปริมาณมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนที่เก็บขน 2.แผนการ/วิธีการ/ผลการตรวจติดตามควบคุมกำกับการเก็บ ขน 3.ปริมาณมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนที่เก็บได้แยกตามประเภท 17 - ผู้ปฏิบัติงานเก็บและขน - ยานพาหนะ (ทนการกัดกร่อน, ปิดทึบไม่รั่ว,มีกลอน,มีช่อง หรือภาชนะแยกเฉพาะ,มีป้ายระบุ ) - ระบบเก็บรวบรวม (จุดแยกทิ้ง,กำหนดวันเก็บ) - ระบบเก็บกักปลอดภัย (ภาชนะ, ที่พักรวม) - การดำเนินการ (เอกสารกำกับ,แยกขน กำหนดวัน เส้นทาง เวลา,ล้างรถ)
18
- มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ - ผู้ปฏิบัติงานกำจัด - มีมาตรฐานและขั้นตอน
หลักฐาน 8. การกำจัด มูลฝอยทั่วไป มาตรฐาน ปฏิบัติตามข้อบัญญัติของท้องถิ่นหรือกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ.2560 และประกาศฯ เรื่อง กำหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ควบคุมกำกับในการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ /ประกาศฯ เรื่อง กำหนดมาตรการการควบคุมกำกับการขนมูลฝอยทั่วไปเพื่อป้องกันการลักลอบทิ้ง พ.ศ.2560/ประกาศฯ เรื่อง ลักษณะและเงื่อนไขการป้องกันการปนเปื้อนของน้ำใต้ดินจากน้ำชะมูลฝอย และการรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินจากสถานที่ฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล พ.ศ. 2560 เอกสารแสดงมาตรฐานวิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติงานกำจัดมูลฝอยทั่วไป 2. รายงาน/แผนงานการดำเนินการกำจัดมูลฝอยทั่วไป และปริมาณมูลฝอยทั่วไปที่กำจัด 18 - มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ - ผู้ปฏิบัติงานกำจัด - มีมาตรฐานและขั้นตอน การปฏิบัติงาน (คู่มือขั้นการปฏิบัติงาน, กำหนดตารางการซ่อมบำรุงระบบ, การควบคุมการกำจัดให้เป็นตาม std ของวิธีนั้น)
19
- เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการกำจัด - ผู้ปฏิบัติงานกำจัด
ขั้นตอน หลักฐาน 8. การกำจัด มูลฝอยติดเชื้อ มาตรฐาน - การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 - ผู้ปฏิบัติงานผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ 1.รายงาน/แผนงานการดำเนินการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ และปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่กำจัด 2.แผนการ/วิธีการ/ผลการตรวจติดตามควบคุมกำกับการกำจัด 19 - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการกำจัด - ผู้ปฏิบัติงานกำจัด - สถานที่เก็บกัก (อาคารหรือห้องเฉพาะ,มีป้ายระบุ,ป้องกัน สัตว์แมลง, รางท่อระบายเชื่อมระบบบำบัด,T,ปิดล็อค) - การดำเนินการกำจัด (เอกสารกำกับ,กำจัดไม่เกิน 30วันนับ แต่ที่ขน, เทคโนโลยีตาม std ,ทำความสะอาดบริเวณระบบ)
20
ขั้นตอน หลักฐาน 8. การกำจัด มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน มาตรฐาน การกำจัดมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือตามหลักวิชาการ 1.รายงาน/แผนงานการดำเนินการ/วิธีการกำจัดมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน และปริมาณมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนที่กำจัด 2.แผนการ/วิธีการ/ผลการตรวจติดตามควบคุมกำกับการกำจัด 3.ปริมาณมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนที่ส่งกำจัด หรือปริมาณที่เก็บกักเพื่อรอส่งกำจัด 20 - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการกำจัด (เป็นผู้ควบคุมดูแลระบบ ป้องกันสวล.เป็นพิษตามกม.โรงงานหรือขึ้นทะเบียนต่อสภา วิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) - ผู้ปฏิบัติงานกำจัด - การดำเนินการกำจัด (การนำกลับมาใช้ประโยชน์ ,กำจัด ด้วยความร้อน,ฝังกลบแบบปลอดภัยและวิธีอื่นที่กม.กำหนด)
21
ขั้นตอน หลักฐาน มาตรฐาน
9. เฝ้าระวังผลกระทบจากการดำเนินการคัดแยก เก็บขน และกำจัดมูลฝอยทั่วไป มาตรฐาน มีระบบการแจ้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน และการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม - เอกสารกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานหรือป้องกันผลกระทบจากการคัดแยก เก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยทั่วไป - ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เช่น คุณภาพน้ำใต้ดินบริเวณสถานที่กำจัด คุณภาพอากาศจากเตาเผามูลฝอยทั่วไป เป็นต้น 21
22
เอกสารการแจ้งผลกระทบฯ หรือเอกสาร ผลการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอน หลักฐาน 9. เฝ้าระวังผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินการคัดแยก เก็บรวบรวม เคลื่อนย้ายและกำจัดภายในสถานบริการการสาธารณสุข และกระบวนการจัดบริการเก็บ ขน และกำจัด มูลฝอยติดเชื้อ มาตรฐาน เฝ้าระวังผลกระทบโดยมีระบบการแจ้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน และการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม เอกสารการแจ้งผลกระทบฯ หรือเอกสาร ผลการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม 22
23
ขั้นตอน หลักฐาน 9. เฝ้าระวังผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากจากการดำเนินการคัดแยก เก็บขน และกำจัด มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย มาตรฐาน มีระบบการแจ้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน และการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ผลการติดตามตรวจสอบระบบการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนตามมาตรฐาน 23
24
รายงานผลการวิเคราะห์และประเมินผล
ขั้นตอน หลักฐาน 10. ประเมินผลกระบวนการคัดแยก เก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยทั่วไปและ มูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออตร. รายงานผลการวิเคราะห์และประเมินผล กระบวนการจัดบริการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอย - การคัดแยก แสดงผลการคัดแยก ปริมาณมูลฝอยที่ลดลง และความร่วมมือของประชาชน - การเก็บ ขน ความครอบคลุมในการให้บริการ ปัญหามูลฝอยตกค้าง เหตุรำคาญจากการเก็บขน - การกำจัด สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ค่าใช้จ่ายในการกำจัด เป็นต้น มาตรฐาน ประเมินผลกระบวนการ โดยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการคัดแยก เก็บขน และกำจัดมูลฝอย 24
25
มูลฝอยติดเชื้อ ขั้นตอน หลักฐาน มาตรฐาน
10. ประเมินผลการควบคุมกำกับการคัดแยก เก็บรวบรวม เคลื่อนย้าย และกำจัดภายในสถานบริการการสาธารณสุข และกระบวนการจัดบริการเก็บ ขน และกำจัด มูลฝอยติดเชื้อ 1. รายงานผลการดำเนินงาน และปัญหาอุปสรรคใน สถานบริการสธ. 2.รายงานผลการวิเคราะห์และประเมินผลกระบวนการจัดบริการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ - การเก็บ ขน ความครอบคลุมในการให้บริการ ปัญหามูลฝอยตกค้าง เหตุรำคาญจากการเก็บขน - การกำจัด สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ค่าใช้จ่ายในการกำจัด เป็นต้น มาตรฐาน ประเมินผลกระบวนการ โดยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการคัดแยก เก็บขน และกำจัดมูลฝอย 25
26
ขั้นตอน หลักฐาน/ตัวอย่าง
11. ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการดำเนินงาน มาตรฐาน มีข้อเสนอหรือแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการคัดแยก เก็บ ขน และกำจัดมูลฝอย เอกสารแสดงข้อเสนอแนะ/แนวทาง/แผนการดำเนินงานปรับปรุงแก้ไข - เพื่อพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตามผลการประเมินกระบวนการคัดแยก เก็บขน และกำจัดมูลฝอย 26
27
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป 27 เกณฑ์การประเมิน คะแนน เต็ม คะแนน ที่ได้ 1. มีการลดปริมาณและการคัดแยกมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.1 การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ / กิจกรรมการอบรมให้ความรู้/ สร้างความเข้าใจ และความตระหนักเกี่ยวกับการลดปริมาณ / การคัดแยกมูลฝอยทั่วไป ด้วยหลักการ 3Rs ได้แก่ การลดปริมาณการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) โดยดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ชุมชน (5 คะแนน) จำนวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่ (A) ……… ชุมชน จำนวนชุมชนที่มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ฯ (B) ………ชุมชน คิดเป็นคะแนน (Bx5) = ……………คะแนน 30 A
28
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป 28 เกณฑ์การประเมิน คะแนน เต็ม คะแนน ที่ได้ 1. มีการลดปริมาณและการคัดแยกมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) 1.2 ชุมชนดำเนินกิจกรรมการลด/การคัดแยก/การใช้ประโยชน์จากมูลฝอยอย่างยั่งยืน (ยังคงดำเนินการอยู่) (15 คะแนน) จำนวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่ (A) ….…..…ชุมชน จำนวนชุมชนที่มีดำเนินกิจกรรมฯ (B) …………ชุมชน คิดเป็นคะแนน (Bx15) = ……………คะแนน A 30 1.3 มีชุมชนต้นแบบด้านการลด/การคัดแยก/การใช้ประโยชน์จากมูลฝอย ซึ่งสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้หรือขยายผลให้กับชุมชนอื่นได้ อย่างน้อย 1 ชุมชน (10 คะแนน)
29
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป 29 เกณฑ์การประเมิน คะแนน เต็ม คะแนน ที่ได้ 2. มีระบบบริการเก็บ ขน มูลฝอยทั่วไป ซึ่งรถขนมูลฝอยทั่วไปจะต้องได้มาตรฐานด้านสุขลักษณะ 2.1 มีการเก็บ ขนมูลฝอยได้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดและไม่มีมูลฝอยตกค้าง (10 คะแนน) 20 2.2 รถเก็บขนมูลฝอยมีลักษณะมิดชิดสามารถป้องกันการปลิวหล่นและการรั่วไหลของน้ำชะมูลฝอย และมีการดูแลบำรุงรักษารถเก็บ ขน มูลฝอยให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดีอย่างสม่ำเสมอ (5 คะแนน) 2.3 มีการป้องกันเหตุรำคาญหรือการร้องเรียนจากการเก็บ ขนมูลฝอย (5 คะแนน)
30
เกณฑ์การประเมิน คะแนน เต็ม คะแนน ที่ได้ 3. 3.1 มีการบำบัด/กำจัดมูลฝอยทั่วไปอย่างถูกสุขลักษณะ และได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ได้รับการออกแบบอย่างถูกต้องและสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างน้อย ประกอบด้วย (25 คะแนน) 3.1.1 การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล - มีระบบป้องกันการปนเปื้อนน้ำใต้ดิน - มีการบดอัดมูลฝอยและปิดทับด้วยดินหรือวัสดุกลบทับรายวันอย่างสม่ำเสมอไม่เกิด ผลกระทบ เช่น กลิ่น สัตว์พาหะนำโรค และการปลิวของมูลฝอย เป็นต้น - มีระบบบำบัดน้ำเสียและระบบระบายก๊าซจากหลุมฝังกลบ - ระบบอยู่ในสภาพใช้งานได้ดี 3.1.2 การเผาในเตาเผา - มีการเผามูลฝอยตามอุณหภูมิที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 850 องศาเซลเซียส) - มีระบบป้องกันมลพิษทางอากาศที่มีประสิทธิภาพ การหมักทำปุ๋ย - ระบบอยู่ในสภาพดี ถูกสุขลักษณะ - มีการบำบัดน้ำชะมูลฝอย น้ำเสียจากสถานที่คัดแยกและสถานที่หมักทำปุ๋ยให้ได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงพาหะนำโรค 50 30
31
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยทั่วไป 31 เกณฑ์การประเมิน คะแนน เต็ม คะแนน ที่ได้ 3. 3.2 มีการป้องกันเหตุรำคาญจากสถานที่กำจัด เช่น ฝุ่น กลิ่น เสียง สัตว์และแมลงพาหะนำโรค เป็นต้น (5 คะแนน) 3.3 การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสถานที่กำจัดตามประเภทเทคโนโลยีที่ใช้กำจัด (20 คะแนน) เช่น - การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล มีการตรวจสอบการปนเปื้อนน้ำใต้ดินจากบ่อตรวจสอบการปนเปื้อนของน้ำใต้ดิน (Monitoring Well) - การเผาในเตาเผา มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศเสีย เป็นต้น
32
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยติดเชื้อ
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยติดเชื้อ 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ ครอบคลุมสถานบริการการสาธารณสุขและห้องปฏิบัติการเชื้อ อันตรายในพื้นที่ โดยรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ดำเนินการเอง มอบให้ ผู้อื่นดำเนินการ อนุญาตให้เอกชนดำเนินการโดยทำเป็นธุรกิจ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) จำนวนสถานบริการการสาธารณสุขและห้องปฏิบัติการเชื้ออันตรายทั้งหมดในพื้นที่ (A) ……………..แห่ง จำนวนสถานบริการการสาธารณสุขและห้องปฏิบัติการเชื้อ อันตรายที่ได้รับบริการในพื้นที่ (B) ……………..แห่ง คิดเป็นคะแนน = ……………………..คะแนน
33
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยติดเชื้อ
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยติดเชื้อ 2. มูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการกำจัดอย่างถูกต้อง (คะแนนเต็ม 60 คะแนน) 2.1 จำนวนสถานบริการการสาธารณสุขและห้องปฏิบัติการเชื้ออันตรายทั้งหมดในพื้นที่ (A) ....………..….แห่ง จำนวนสถานบริการการสาธารณสุขและห้องปฏิบัติการเชื้ออันตรายที่ได้รับการกำจัดมูลฝอย ติดเชื้อในพื้นที่ (B) …………….…..แห่ง คิดเป็นคะแนน = ……………………..คะแนน (30 คะแนน) 2.2 ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อทั้งหมดในพื้นที่ (A) …………………กิโลกรัม/ตันต่อวัน ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการกำจัดในพื้นที่ (B) ………………กิโลกรัม/ตันต่อวัน คิดเป็นคะแนน = ……………………..คะแนน (30 คะแนน)
34
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยที่เป็นพิษฯ
การวัดผลลัพธ์ (องค์ประกอบที่ 7) มูลฝอยที่เป็นพิษฯ 1. มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์/กิจกรรมในการอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสถานที่เก็บกักมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน อย่างถูกสุขลักษณะ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบส่งต่อไปยังสถานที่กำจัดที่ถูกสุขลักษณะและได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน)
35
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.