งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำแผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำแผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำแผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
นายแพทย์ปัจจุบัน เหมหงษา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดลำพูน

2 แผนผังแสดงความสอดคล้องเชื่อมโยงของแผนพัฒนาจังหวัดลำพูน
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1. พัฒนาการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและความยั่งยืน 1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 6. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร 2. การเสริมสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 7. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3. ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. การสร้างความเข็มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 8. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม 4. ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 4. พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 9. การพัฒนาภูมิภาค เมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ 5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. การพัฒนาเมืองสำคัญ 5. ความมั่นคง 10. การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 6. การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน 1. เมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ 2. เมืองเกษตร สีเขียว 3. เมืองจุดหมายปลายทางแห่งการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์วัฒนธรรม 4. เมืองแห่งคุณภาพชีวิต 5. เมืองนิเวศน์ เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

3 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ – 2564 ให้มีความเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล การปฏิรูปด้านสาธารณสุข ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) โดยแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พันธกิจ : พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เป้าหมาย : ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

4 รัฐบาลได้กำหนด กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาระยะ 20 ปี ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งทุกยุทธศาสตร์ มีความเกี่ยวข้องกับ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ 1.1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1.2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 1.4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 1.5 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1.6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

5 กระทรวงสาธารณสุข มีการกำหนดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และส่งผลต่อการใช้จ่ายภาครัฐด้านสุขภาพของประเทศ สอดรับกับการปฏิรูปประเทศไทยและการปฏิรูปด้านสาธารณสุข เพื่อสร้างความเข้มแข็งและมั่นคงยั่งยืนให้กับระบบสุขภาพ ทัดเทียมกับนานาประเทศในเอเชียได้ จึงได้วางทิศทางในการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เป็น 4 ระยะ ระยะละ 5 ปี และมีจุดเน้นหนักแต่ละระยะ คือ ระยะที่ 1 พ.ศ – 2564 ปฏิรูประบบ ระยะที่ 2 พ.ศ – 2569 สร้างความเข้มแข็ง ระยะที่ 3 พ.ศ – 2574 สู่ความยั่งยืน ระยะที่ 4 พ.ศ – 2579 เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย

6 ในระยะ 1 ปี 4 เดือนที่เหลือ (มิถุนายน 256จ ถึง กันยายน 2561 ) กระทรวงสาธารณสุขมุ่งมั่นปฏิรูประบบสาธารณสุขเพื่อตอบสนองนโยบายรัฐบาล ด้วยยุทธศาสตร์ 3 เครื่องยนต์ ได้แก่ ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความมั่นคง (Inclusive Growth Engine) ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างความมั่งคั่ง (Productive Growth Engine) และสร้างสมดุลในการพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน (Green Growth Engine)  ซึงประกอบ 10 ประเด็นสำคัญในการพัฒนา

7 ลดความเหลื่อมล้ำสร้าง ความมั่นคง Inclusive Growth Engine  เน้นหนักใน 6 ประเด็นสำคัญ ได้แก่
1.1 Smart citizen ต่อยอดจากการลงนามความร่วมมือ 4 กระทรวง ให้ความสำคัญกับเด็กและผู้สูงอายุ และเตรียมออกระเบียบสำนักนายกฯ ที่จะสร้างคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District health board: DHB) ในการขับเคลื่อนนโยบายนี้ 1.2 การปฏิรูประบบบริการปฐมภูมิ โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในระดับตำบล ภายใน 10 ปี เพิ่มงบประมาณสร้างแรงจูงใจสำหรับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 150 บาท/ประชากร 1.3 การพัฒนาระบบบริการ โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายและกระจายไปสู่ทุก ภูมิภาคของประเทศเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้เข้าถึง โดยเน้น 3 เรื่องที่สำคัญ คือ 1. การเปลี่ยนอวัยวะ (Organ Transplant) 2. การผ่าตัดแบบMinimal invasive surgery 3. การดูแลผู้ป่วยแบบ Intermediate care เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เตียงในโรงพยาบาลชุมชน และ เตรียมผู้ป่วยกลับสู่ชุมชน 1.4 การต่อยอด Long term care โดยเพิ่มกลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้น 1.5 การดูแลผู้ป่วยเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติ มีสิทธิทุกที่ (UCEP) โดยเน้นการพัฒนาห้องฉุกเฉินและระบบส่งต่อ ให้มีคุณภาพ โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน 1.6 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข คือ การสร้าง war room เพื่อรองรับงานด้าน สาธารณสุขฉุกเฉินและภัยพิบัติต่าง ๆ ป้องกันและควบคุมโรคระบาดที่จะแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทย

8 2. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างความมั่งคั่ง Productive Growth Engine เน้นหนักใน 3 ประเด็นสาคัญ ได้แก่
2.1 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ให้ความสำคัญในการพัฒนา Product Hub, Wellness Hub และ Medical Hub เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ 2.2 การเพิ่มประสิทธิภาพการขึ้นทะเบียนและใบอนุญาต เพื่อเชื่อมผู้ประกอบการในการธุรกิจให้รวดเร็วมากขึ้น 2.3 การพัฒนาเขตสุขภาพพิเศษ งานสาธารณสุขชายแดน งานสาธารณสุขทางทะเลและเกาะ และเขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก รวมถึงพื้นที่เฉพาะอื่น ๆ 

9 3. สร้างสมดุลในการพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน Green Growth Engine เน้นหนักในการพัฒนาโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 959 แห่ง เพื่อลดมลพิษ ลดการใช้พลังงาน ลดภาวะโรคร้อน 

10

11

12

13

14 แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ เขตสุขภาพที่ 1
ปี 2560 – 2564 VISION เขตสุขภาพล้านนา เป็นองค์กรหลักในการ ประสาน สนับสนุน และ จัดการ ระบบสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข อย่างยั่งยืน ภายในปี 2564  เขตสุขภาพที่ 1 ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบสนับสนุน ขับเคลื่อนระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการทำงานแบบบูรณาการภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน บริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสาธารณสุขในเครือข่ายอย่างมีธรรมาภิบาล พัฒนาระบบการควบคุม กำกับ ประเมินผลของเครือข่าย โดยใช้แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)  โดยมีวิสัยทัศน์ คือ เขตสุขภาพล้านนา เป็นองค์กรหลัก ในการประสาน สนับสนุน และจัดการ ระบบสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข อย่างยั่งยืน ภายในปี 2564

15 เจ้าหน้าที่มีความสุข
พัฒนาระบบสนับสนุนและขับเคลื่อนระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการทำงานแบบบูรณาการภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน บริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสาธารณสุขในเครือข่ายอย่างมีธรรมาภิบาล.พัฒนาระบบการควบคุม กำกับ ประเมินผลของเครือข่าย เขตสุขภาพล้านนา เป็นองค์กรหลักในการประสาน สนับสนุน และจัดการระบบสุขภาพสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี อย่างยั่งยืน goal ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 4E strategies P & P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence สร้างระบบจัดการเชิงรุกโรคสำคัญ 8 strategic issues HR - 1 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม งานวิจัย ระบบสุขภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการระบบสุขภาพ (1 Region 1 Data) สร้างความเข้มแข็งการจัดบริการปฐมภูมิโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมระบบจัดการภัยพิบัติเข้มแข็งแบบบูรณาการ เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพและศูนย์ความเชี่ยวชาญทางการแพทย์(Excellent Center) และพัฒนาระบบส่งต่อคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งการจัดการสุขภาพภาคประชาชน (Self Care) พัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการระบบสุขภาพ Long term care sepsis Thai refer ICS RDU Aging society Maternal dead Child development NCD TB โดยมี 8 ยุทธศาสตร์สำคัญ ดังนี้  1. สร้างระบบจัดการเชิงรุกโรคสำคัญ 2. สร้างความเข้มแข็งการจัดบริการปฐมภูมิโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 3. ส่งเสริมระบบจัดการภัยพิบัติเข้มแข็งแบบบูรณาการ 4. สร้างความเข้มแข็งการจัดการสุขภาพภาคประชาชน (Self-Care) 5. เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพและศูนย์ความเชี่ยวชาญทางการแพทย์ (Excellent Center) 6. ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม งานวิจัย ระบบสุขภาพ 7. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการระบบสุขภาพ (1 Region 1 Data) 8. พัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการระบบสุขภาพ 10 targets 5 สร้าง 5 เสริม Core value 9 M P H

16 PA 2561 เขต1 อัตราทารกคลอดก่อนกำหนด ลดลงจากปี 2560 อย่างน้อยร้อยละ 10 หรือ 250 ราย (ปี 2560 ทารกคลอดก่อนจำนวน 2,500 ราย) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่ตรวจคัดกรอง พัฒนาการแล้วพบสงสัยล่าช้าได้รับการ ติดตามภายใน 30 วัน มากกว่า ร้อยละ 80 ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน ร้อยละ 100 และผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง เป้าหมายได้รับการดูแลและยกระดับคุณภาพชีวิต ครบร้อยละ 80

17


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำแผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google