งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

2 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
ระบบ การศึกษา จำนวนหน่วยกิตรวม และระยะเวลาศึกษา คุณสมบัติ ผู้เข้าศึกษา ทวิภาค (ภาคต้นและภาคปลาย) การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้รับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรปริญญา 4 ปี จำนวนหน่วยกิตรวม 127(1) สำเร็จการศึกษา ม.ปลาย หรือเทียบเท่า ไม่มีความผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา รับนิสิตไทย และนิสิตต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี

3 EQ + AQ + Innovative Mind Industrial & Organizational Psychology
Counseling Psychology General Psychology Clinical Psychology Industrial & Organizational Psychology

4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ลำดับ ชื่อ-ชื่อสกุล ตำแหน่งวิชาการ คุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา ประเทศ 1 นายนิรันดร์ เงินแย้ม อาจารย์ ปร.ด. วท.ม. คบ. ประสาทวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาคลินิก จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว ขอนแก่น มหิดล จุฬาลงกรณ์ฯ 2550 2548 2540 ไทย 2 นางมณฑิรา อินจ่าย ผศ. วท.บ. บริหารศาสตร์ (การศึกษา เพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์) จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ จิตวิทยา (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) แม่โจ้ เชียงใหม่ 2558 2549 2541 3 น.ส.วราลักษณ์ ปวนสุรินทร์ พย.บ.  พยาบาลศาสตร์ 2534 4 นางเพชรี บุญศิริยะ ศศ.บ. จิตวิทยาอุตสาหกรรม จิตวิทยา เกษตรศาสตร์ พายัพ 2538 2532 5 น.ส.นัฐพร โอภาสานนท์ นเรศวร 2552

5 Program Learning Outcomes (Competence based education)
CURRICULUM MAP OF BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN PSYCHOLOGY Year 1 Year 2 Year 3 Year 4 1st semester 2nd semester วิชาศึกษาทั่วไป วิชาพื้นฐาน (Sci.) วิชาบังคับ (Psy.) วิชาพื้นฐาน(Test) วิชาเลือก (Major) ภาษาอังกฤษ วิชาพื้นฐาน (วิจัย) วิทยานิพนธ์ ป.ตรี นวัตกรรมจิตวิทยา ฝึกงาน หรือ สหกิจศึกษา K: จิตวิทยาทั่วไป S: สารสนเทศ A: Learning to Learn K: ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล S: ทักษะภาษา A: EQ K: สถิติพื้นฐาน, Clinic / Csg./ I-O S: สร้างแบบวัด A: Scientific Mind K: จิตวิทยาอปกติ, การปรับพฤติกรรม S: สถิติประยุกต์ A: Critical Think. K: ระเบียบวิธีวิจัย, จิตวิทยาสังคม S: ทำวิจัยกลุ่ม A: Teamwork K: วินิจฉัย Beh. S: แก้ปัญหา Beh., นำเสนอวิชาการ A: AQ K: วิทยานิพนธ์, วิชาชีพจิตวิทยา S: ฝึกปฏิบัติงาน A: Innovat. Mind K: การปรับตัวใน องค์กร/วิชาชีพ S: ทำงานจิตวิทยา A: Ethics Expected Learning Outcomes อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ได้ สร้างแบบวัดจิตวิทยาที่มีคุณภาพ เลือกกลุ่มวิชาจิตวิทยาที่สนใจได้ ทำวิจัยทางจิตวิทยาอย่างถูกต้อง ประเมินและแก้ปัญหาพฤติกรรมได้ เสนอนวัตกรรมและปฏิบัติหน้าที่ นักจิตวิทยาอย่างมีจรรยาบรรณ Program Learning Outcomes (Competence based education) 1. มีความรอบรู้ มีทักษะรอบด้าน มีความฉลาดทางอารมณ์เพื่อการปรับตัวด้วยสุขภาวะที่ดี ทั้งทางด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ 2. มีความรอบรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านจิตวิทยา ในการอธิบาย ทำนาย ควบคุม และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์ 3. สามารถปฏิบัติการทดสอบและประเมินทางจิตวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรมมนุษย์ โดยใช้ความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก/การปรึกษา/อุตสาหกรรมและองค์การ 4. วางแผนและปฏิบัติการวิจัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถต่อยอดความรู้สู่การสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาที่มีศักยภาพในการนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ปฏิบัติหน้าที่ในงานคุณภาพด้วยความรับผิดชอบ ดำรงชีวิตอย่างมีจิตสำนึก โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยา Philosophy : สร้างบัณฑิตให้เป็นบุคลากรที่มีความรู้คู่คุณธรรม นำความรู้ทางจิตวิทยาไปใช้เพื่อพัฒนาตนเองและเพื่อนมนุษย์ ตลอดจนพัฒนาความก้าวหน้า ทางวิชาการ นำไปสู่การสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมทางจิตวิทยาอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ภายใต้กรอบของจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพของนักจิตวิทยา

6 PROGRAM STRUCTURE OF BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN PSYCHOLOGY
หมวดวิชา Program Learning Outcomes (competence based education) บัณฑิตสามารถทำอะไรได้เมื่อเรียนจบหลักสูตร หมวดวิชาเลือกเสรีนิสิตสามารถเลือกลงได้ในทุกภาคการศึกษา กลุ่มวิชาประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงานหรือสหกิจศึกษา) สร้างบัณฑิตให้เป็นบุคลากรที่มีความรู้ คู่คุณธรรม นำความรู้ทางจิตวิทยา ไปใช้เพื่อพัฒนา ตนเองและ เพื่อนมนุษย์ ตลอดจนพัฒนาความ ก้าวหน้าทางวิชาการ นำไปสู่การสร้างงานวิจัย และ นวัตกรรมทางจิตวิทยา อย่างเป็นระเบียบ แบบแผน ภายใต้กรอบของจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพของนักจิตวิทยา Expected Learning Outcomes ปฏิบัติหน้าที่ในงานคุณภาพด้วยความรับผิดชอบ ดำรงชีวิตอย่างมีจิตสำนึก โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยา K: การปรับตัวในองค์กร/วิชาชีพ, S: การปฏิบัติภารกิจในฐานะนักจิตวิทยา, A: Ethics กลุ่มวิชาในปีที่ 4 (Semester 2): การฝึกงานหรือสหกิจศึกษา หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาบังคับ/เลือก (วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี) วางแผนและปฏิบัติการวิจัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถต่อยอดความรู้สู่การสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาที่มีศักยภาพในการนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ K: การทำวิทยานิพนธ์+ความรู้เชิงลึกในวิชาชีพจิตวิทยา, S: ฝึกปฏิบัติงาน, A: Innovative Mind กลุ่มวิชาในปีที่ 4 (Semester 1): นวัตกรรม สัมมนา เอกเลือก วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี K: วินิจฉัยพฤติกรรม, S: แก้ปัญหาพฤติกรรม+นำเสนอวิชาการ, A: สามารถเผชิญอุปสรรค (AQ) กลุ่มวิชาในปีที่ 3 (Semester 2): จิตวิทยาปัญญานิยม ภาษาอังกฤษ เอกเลือก วิทยานิพนธ์ ป.ตรี หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาพื้นฐาน/กลุ่มวิชาบังคับ/กลุ่มวิชาเลือก สามารถปฏิบัติการทดสอบและประเมินทางจิตวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรมมนุษย์ โดยใช้ความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก จิตวิทยาการปรึกษา หรือจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ K: ระเบียบวิธีวิจัย+จิตวิทยาสังคม, S: ทำวิจัยกลุ่ม, A: Teamwork กลุ่มวิชาในปีที่ 3 (Semester 1): ภาษาอังกฤษ จิตวิทยาการทดลอง วิจัย จิตวิทยาสังคม เอกเลือก K: จิตวิทยาอปกติ+การปรับพฤติกรรม, S: สถิติประยุกต์, A: Critical Thinking กลุ่มวิชาในปีที่ 2 (Semester 2): วิทย์ อังกฤษ สถิติประยุกต์ ปรับพฤติกรรม จิตวิทยาอปกติ เอกเลือก หมวดวิชาศึกษาทั่วไป/หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาพื้นฐาน/กลุ่มวิชาบังคับ มีความรอบรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านจิตวิทยา ในการอธิบาย ทำนาย ควบคุม และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ ตามหลักวิทยาศาสตร์ K: สถิติพื้นฐาน + จิตวิทยาคลินิก/การปรึกษา/อุตสาหกรรมฯ, S: สร้างแบบวัด, A: Scientific Mind กลุ่มวิชาในปีที่ 2 (Semester 1): อังกฤษ สังคม สถิติพื้นฐาน การทดสอบ จิตวิทยาพื้นฐาน K: ความแตกต่างระหว่างบุคคล, S: ทักษะภาษา, A: ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป / หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาพื้นฐาน กลุ่มวิชาในปีที่ 1 (Semester 2): ไทย อังกฤษ ศึกษาทั่วไป จิตบุคลิกภาพ การรับสัมผัสและการรับรู้ มีความรอบรู้ มีทักษะรอบด้าน มีความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อการปรับตัวด้วยสุขภาวะที่ดี ทั้งทางด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ K: จิตวิทยาทั่วไป, S: สารสนเทศ, A: Learning to Learn กลุ่มวิชาในปีที่ 1 (Semester 1): อังกฤษ สารสนเทศ ศึกษาทั่วไป กีฬา สรีรจิต จิตทั่วไป พัฒนาการ

7 4. วางแผนและปฏิบัติการวิจัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถต่อยอดความรู้
PROGRAM STRUCTURE OF BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN PSYCHOLOGY 5. ปฏิบัติหน้าที่ในงานคุณภาพด้วยความรับผิดชอบ ดำรงชีวิตอย่างมีจิตสำนึก โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยา Psychologist Sem 8 Professional Training Co-operative Education 4. วางแผนและปฏิบัติการวิจัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถต่อยอดความรู้ สู่การสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาที่มีศักยภาพในการนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Sem 5-7 Research Method Experiment Psy. Innovation in Psy. Seminar Undergrad. Thesis 3. สามารถปฏิบัติการทดสอบและประเมินทางจิตวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรมมนุษย์ โดยใช้ความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก จิตวิทยาการปรึกษา หรือจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ Sem 3-7 สร้างบัณฑิต ให้เป็นบุคลากรที่มีความรู้คู่คุณธรรม นำองค์ความรู้ทางจิตวิทยาไปใช้เพื่อพัฒนาตนเองและเพื่อนมนุษย์ ตลอดจนพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการ นำไปสู่การสร้างงานวิจัย และนวัตกรรมทางจิตวิทยา อย่างเป็นระเบียบแบบแผนภายใต้กรอบของจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ ของนักจิตวิทยา Tests & Measurement Clinical Psy. Counseling Psy. Industrial & Organizational Psy. 2. มีความรอบรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านจิตวิทยา ในการอธิบาย ทำนาย ควบคุม และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์ Sem 1-6 Statistics in Behavioral Science Physiological Psy. Sensation & Perception General Psy. Developmental Psy. Personality Learning Abnormal Psy. Social Psy. Cognitive Psy. Sem 1-7 1. มีความรอบรู้ มีทักษะรอบด้าน มีความฉลาดทางอารมณ์เพื่อการปรับตัวด้วยสุขภาวะที่ดี ทั้งทางด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ General Education Computer/IT English Free Elective

8 EQ + AQ + Innovative Mind Industrial & Organizational Psychology
Counseling Psychology General Psychology Clinical Psychology Industrial & Organizational Psychology

9 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


ดาวน์โหลด ppt หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google