ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCristóbal Bustos ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบ 5 มิติ ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
2
ปัจจัยเสี่ยง/พฤติกรรม (จำนวนครั้ง ที่ไหน อย่างไร)
FLU A/B ไม่ใส่ Mask ระบบเฝ้าระวัง 5 มิติ 5 กลุ่มโรค CD ATS NCD Env Occ Injury Dengue HFMD Influenza Measles Rabies FWB 1.Determinant 2.Risk factor ปัจจัยเสี่ยง/พฤติกรรม Etiology cause การตอบสนอง สื่อสารตรงประเด็น ปรับเปลี่ยน HL ฉีดวัคซีน รักษาทันเวลา (Oseltamivir) วิธีการจัดเก็บข้อมูล มาตรการป้องกัน การตอบสนองและควบคุมโรค 3.Program response 4.จำนวนป่วย/จำนวนตาย อัตราป่วย/อัตราตาย 5.Outbreak (จำนวนครั้ง ที่ไหน อย่างไร)
3
ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (การกระจาย) Time Place Person Program Response ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ (หาความสัมพันธ์) ตัวอย่างความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเทียบกับอัตราป่วยโรคคอตีบ กับอัตราป่วย/ตาย การระบาด ความครอบคลุมวัคซีนเพิ่มขึ้น อัตราป่วยลดลง
4
ปัญหาของการจัดเก็บข้อมูล Program Response
ขาดการจัดเก็บข้อมูล ขาดการประเมินประสิทธิผลของมาตรการ ไม่มีการปรับเปลี่ยนมาตรการเพื่อบรรลุผลลัพธ์ ไม่มีข้อมูลความครอบคลุมและความถูกต้องของมาตรการ
5
ตารางการเก็บข้อมูล Program response
มาตรการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย ก่อนการระบาด ระหว่างการระบาด หลังการระบาด 1. 2. 3. 4. โรคหัด โรคพิษสุนัขบ้า โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคอุจจาระร่วง
6
การจัดเก็บข้อมูล Program response ของระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
โรคหัด (5 มาตรการ) มาตรการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย ก่อนการระบาด ระหว่างการระบาด หลังการระบาด 1. เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุครบ 1 ปี, 3 ปี, เด็กนักเรียนชั้น ป. 1 รายพื้นที่ (ตำบล / อำเภอ / จังหวัด /โรงเรียน) - ตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกระดับทุกพื้นที่ - เก็บตกเด็กที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ - รายงานผลการเก็บตกเด็กที่ได้รับวัคซีนในช่วงเหตุการณ์การระบาด และการประเมินความครอบคลุมหลังเก็บตก 2. เร่งรัดการเฝ้าระวังโรคและการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ ทุกกลุ่มอายุ รายจังหวัด เฝ้าระวังผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัดหรือโรคหัดเยอรมันอย่างน้อย 2 ต่อแสนประชากรทุกกลุ่มอายุ เก็บตัวอย่างส่งตรวจยืนยันผู้ป่วยอย่างน้อยร้อยละ 80 - เก็บตัวอย่างส่งตรวจยืนยันสายพันธุ์โรคหัดอย่างน้อยร้อยละ 80 ชองเหตุการณ์ การระบาด 3. เสริมสร้างความเข้มแข็งของการสอบสวนและควบคุมโรค - รายผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันภายใน 48 ชั่วโมง - รายเหตุการณ์การระบาดของโรคหัดภายใน 48 ชั่วโมง และ ควบคุมโรคภายใน 72 ชั่วโมง - 4. การรณรงค์ให้วัคซีนโรคหัดเสริม ประชากรกลุ่มเสี่ยง - เตรียมความพร้อมและรณรงค์ให้วัคซีน MR/MMR ในกลุ่มเสี่ยง 5. การตอบโต้การระบาดของโรคหัดอย่างเต็มที่ ผู้สัมผัสโรค (เหตุการณ์การระบาด) - ให้วัคซีนเพื่อควบคุมโรคแก่ผู้สัมผัสโรคที่ไม่เคยได้รับวัคซีน MR/MMR มาก่อน - รายงานผลการให้วัคซีนเพื่อควบคุมโรค Check sheet
7
การจัดเก็บข้อมูล Program response ของระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
โรคพิษสุนัขบ้า (2 มาตรการ) มาตรการ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย ช่วงการดำเนินงาน ก่อนระบาด ระหว่างระบาด หลังระบาด มาตรการป้องกันโรค 1. จัดทำแผนโครงการสัตว์ปลอดโรคฯ คกก ระบบสุขภาพอำเภอ พื้นที่เฝ้าระวัง (สีฟ้า) - มีแผนพัฒนาพื้นที่ปลอดโรค ดำเนินการตามแผนฯ พื้นที่เสี่ยง (สีเหลือง) - มีแผนบูรณาการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ดำเนินการตามแผนฯ พื้นที่เสี่ยงสูง (สีแดง) 2. ติดตามสถานการณ์โรคในสัตว์ สสอ/ รพช ทุกอำเภอ - ติดตามสถานการณ์สัตว์ติดเชื้อในฐานข้อมูล ww.thairabies.net - ติดตามปริมาณเบิกจ่ายวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในคนของสถานบริการในพื้นที่ - วิเคราะห์ความเสี่ยงของพื้นที่ชี้เป้าเตือนภัย 3. สื่อสารความเสี่ยง ปชช. - ปชสพ.สื่อสารอย่างต่อเนื่อง สำรวจความรู้ ปชช. 4. ติดตามผู้สัมผัสโดย อสม. เคาะประตูบ้าน อสม. ค้นหาผู้สัมผัสสัตว์ติดเชื้อ 5. การสำรวจและขึ้นทะเบียนสุนัขและแมว ท้องถิ่นจังหวัด และ อปท. อปท.ทุกแห่ง ท้องถิ่นจังหวัด กำกับติดตามให้มีการสำรวจและขึ้นทะเบียนสุนัขและแมวในพื้นที่ อปท. 6. รณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับ ท้องถิ่นจังหวัด และสสจ. จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับ ท้องถิ่นจังหวัด และ สสจ.สนับสนุน กำกับ ติดตาม 7. รณรงค์ทำหมันตามเป้าหมายของกรมปศุสัตว์ ปศุสัตว์อำเภอและ อปท. ปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับ ท้องถิ่นจังหวัด สนับสนุน กำกับ ติดตาม 8. การออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อการควบคุมการเลี้ยงและปล่อยสัตว์ ท้องถิ่นจังหวัด สนับสนุนให้ อปท. ที่มีความพร้อมออกข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติท้องถิ่น เรื่องการควบคุมการเลี้ยงและ ปล่อยสัตว์ 9. การสนับสนุนวิชาการด้านการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สสจ. ร่วมกับ ปศุสัตว์จังหวัด อปท. ที่มีความพร้อม สสจ. ร่วมกับ ปศุสัตว์จังหวัด สนับสนุนวิชาการด้านการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
8
การจัดเก็บข้อมูล Program response ของระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
โรคพิษสุนัขบ้า (2 มาตรการ) มาตรการ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย ก่อนระบาด ระหว่างระบาด หลังระบาด มาตรการควบคุมโรค พบสัตว์ติดเชื้อ 1 ตัว ผู้สัมผัสสัตว์ติดเชื้อ ตำบล - - ทีมสอบสวนโรค (SRRT) ค้นหาผู้สัมผัสโรคให้มารับวัคซีนเข็มแรก ภายใน 2 วัน - จัดทำทะเบียนรายชื่อติดตามผู้สัมผัสโรคมารับวัคซีนต่อเนื่องตามแนวทางเวชปฏิบัติ (แบบ Rabies-1) ส่งให้ สสจ.ทุกเดือน - ประสานปศุสัตว์อำเภอ/ อปท. ฉีดวัคซีนรอบจุดเกิดโรค รัศมี 5 กิโลเมตร พบสัตว์ติดเชื้อตัวที่ 2 ภายใน 3 เดือน อำเภอ - จัดทำทะเบียนรายชื่อติดตามผู้สัมผัสโรคมารับวัคซีนต่อเนื่องตามแนวทางเวชปฏิบัติ (แบบ Rabies-1) ส่งให้ สสจ. ทุกเดือน พบผู้เสียชีวิต 1 ราย สสจ. ปศุสัตว์จังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด และหน่วยงานระดับจังหวัด จังหวัด - สสจ.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ปศุสัตว์จังหวัด ปศข./สคร. ร่วมกันสอบสวนควบคุมโรค - มีการประชุมและมีข้อสั่งการเพื่อป้องกันควบคุมโรค - สนับสนุน/ กำกับ/ ติดตามผลการรับวัคซีนของผู้สัมผัสโรค - จัดทำรายงานผลการรับวัคซีนระดับจังหวัด (Rabies-2) ส่งให้ สคร. ทุกเดือน - นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของสถานบริการในพื้นที่รับผิดชอบ Check sheet
9
การจัดเก็บข้อมูล Program response ของระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
โรคไข้หวัดใหญ่ (6 มาตรการ) มาตรการ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย ช่วงการดำเนินงาน ก่อนระบาด ระหว่างระบาด หลังระบาด 1.การเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์โรค วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงสถานการณ์โรคเป็นระยะ ทุกกลุ่มอายุ รายอำเภอ รายสัปดาห์/วิเคราะห์รายสัปดาห์ มี ครั้ง ไม่มี รายวัน/วิเคราะห์รายสัปดาห์ มี ครั้ง รายสัปดาห์/วิเคราะห์รายเดือน(น่าจะเป็นรายสัปดาห์) มาตรการ 2.การเตรียมความพร้อมเฝ้าระวัง 1.การติดตามสถานการณ์ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ มีโรคไข้หวัดใหญ่ระบาด จำนวน เหตุการณ์ สอบสวนโรคภายใน 48 ชั่วโมง จำนวน เหตุการณ์ 3.เตรียมพร้อมด้านการรักษาพยาบาล และป้องกัน การติดเชื้อในโรงพยาบาล 1.มีการฝึกซ้อมการใส่ PPE ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา มี ครั้ง ไม่มี 2.มีห้องการตรวจแยกเฉพาะผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ 4.เตรียมสำรองวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกัน และควบคุมโรค ได้แก่ ยาต้านไวรัส ชุดป้องกันร่างกายส่วนบุคคล 1.โรงพยาบาลมียา Oseltamivir สำหรับรักษาผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ มี เพียงพอ ไม่เพียงพอ ไม่มี 2.โรงพยาบาลมี PPE เพียงพอ
10
การจัดเก็บข้อมูล Program response ของระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
โรคไข้หวัดใหญ่ (6 มาตรการ) มาตรการ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน จำนวนวัคซีนที่ได้รับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน 5.การรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเสี่ยง มี ไม่มี - หญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป - เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน - ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน - บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน - ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ - ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) - โรคอ้วน (น้ำหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) - บุคลากรทางการแพทย์ มาตรการ 6. การสื่อสารความเสี่ยง เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้หวัดใหรเตรียมความพร้อมเฝ้าระวัง 1.สื่อมวลชนท้องถิ่น เผยแพร่ความรู้ เรื่อง ไข้หวัดใหญ่ มี ไม่มี 2.ผู้บริหารสาธารณสุข หรือผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอำเภอ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ฉีดวัคซีนผ่านสื่อสาธารณะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.