งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่
คลินิกให้บริการที่เป็นมิตร(yfhs)& อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ สู่ ศูนย์พึ่งได้ สายสุทธี ร่มเย็น หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่

2

3

4 อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี
สถาน การณ์ อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 30 มีนาคม 2561

5 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี
: ข้อมูลจาก HDC วันที่ 30 มีนาคม 2561

6 การคุมกำเนิดในหญิงอายุ< 20 ปี
ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด รวมทั้งปีงบประมาณ B A ร้อยละ เชียงใหม่ 497 106 21.33 ลำพูน 80 7 8.75 ลำปาง 156 93 59.62 แพร่ 78 21 26.92 น่าน 119 20 16.81 พะเยา 117 14 11.97 เชียงราย 444 88 19.82 แม่ฮ่องสอน 176 75 42.61 รวม 1,667 424 25.43  : ข้อมูลจาก HDC วันที่30 มีนาคม 2561

7 อัตราคลอดแม่วัยรุ่น 15-19ปี
Gap Analysis MCH Bord ระดับเขต 1.การตั้งครรภ์ซ้ำ 1.การขับเคลื่อน การดำเนินงานของภาคส่วนต่างๆตามพ.ร.บ.ฯป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นยังไม่เป็นรูปธรรม อัตราคลอดแม่วัยรุ่น 15-19ปี ขาดการเข้าถึงบริการคุมกำเนิด 1.สร้างความเข้าใจในบทบาทของคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ในการดำเนินงานชี้นำ ชี้แนะ 2. คืนข้อมูล/ สถานการณ์ปัญหา เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหาและผลเสียของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ให้กับภาคีเครือข่าย เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน 3.กระตุ้น ติดตามการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ฯ พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะในการให้คำปรึกษา -จัดหาเวชภัณฑ์คุมกำเนิดวิธีสมัยใหม่ และกึ่งถาวร(ยาฝังคุมกำเนิด) -กำกับ ติดตาม พัฒนาระบบส่งต่อ ผู้รับบริการนอกเขตให้มีประสิทธิภาพ - ตรวจสอบระบบการลงรายงานการใช้วิธีคุมกำเนิดหลังคลอดในแม่วัยรุ่นให้ครบถ้วน 2.การเข้าไม่ถึงบริการคลินิควัยรุ่น เพิ่มการประชาสัมพันธ์ มีระบบการช่วยเหลือ ส่งต่อ/การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยยา เพิ่มช่องทางการเข้าถึง ปชส/บริการเชิงรุก

8 คลินิกวัยรุ่น : มาตรฐานการดำเนินงาน YFHS

9 วัยรุ่นและเยาวชนเข้าถึงบริการสุขภาพทั้งเชิงรับและเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจและประเมินรับรองรพ.ตามมาตรฐานYFHS พัฒนารพ.ทุกแห่งมีระบบส่งต่อและช่วยเหลือแม่วัยรุ่น พัฒนาระบบบริการ มีความเชื่อมโยง เป็นมิตร รักษาความลับ วัยรุ่นเข้าถึงง่ายและเข้าถึงบริการคุมกำเนิดและมี การจัดบริการเชิงรุก

10 มาตรฐานคุณภาพ มีนโยบายที่เป็นมิตร 2. กระบวนการให้บริการที่ เป็นมิตร
YFHS : Youth Friendly Health Service มีนโยบายที่เป็นมิตร 2. กระบวนการให้บริการที่ เป็นมิตร 3. ผู้ให้บริการที่เป็นมิตร 4. ทีมสนับสนุนบริการที่เป็นมิตร 5. สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก 6. วัยรุ่นมีส่วนร่วม 7. มีการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของชุมชน แหล่งข้อมูล: WHO 2003 The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers แหล่งข้อมูล: Karl L. Delhne , Gabriele Riedner , 2005 และ McIntyre P.,2002 10/07/62

11 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น
2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลาการผู้ให้บริการ 11 11 11 10/07/62 11

12 “อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์”
อำเภอที่ดำเนินงานเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน กระตุ้นและผลักดันให้วัยรุ่น และเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสม โดยบูรณาการและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ขององค์กรพื้นที่ในงานอนามัยวัยรุ่น ทั้งสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชน มีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคล้องและมีเอกภาพ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและเยาวชน อย่างครอบคลุม ลดปัญหาและผลกระทบ ต่อเยาวชนและสังคม

13 องค์ประกอบของอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
จากกรอบแนวคิดการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น เราได้มีจัดทำโครงการอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ เพื่อเป็นการให้กำลังใจและประกาศเกียรติคุณคนทำงานในพื้นที่ โดยมีเงื่อนไขว่า ใน 1 อำเภอ จะต้องมี setting ของสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข ทั้งในระดับ รพช. และรพ.สต. และครอบครัวชุมชน รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมี 5 องค์ประกอบ คือ 1.คณะกรรมการ/คณะทำงานจากทุกภาคส่วน 2. แผนและการดำเนินการตามแผนพัฒนา 3.การประชุมและการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ 4.ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ 5.การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม

14 กรอบแนวคิดอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
สถานศึกษา สถานบริการ สาธารณสุข สาธารณสุข อปท. มีการสอนเพศศึกษารอบด้านหรือหลักสูตรใกล้เคียง จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน รพช. มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนตามเกณฑ์มาตรฐาน รพ.สต. มีข้อมูลแผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ โรคทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ รพ.มีระบบการดูแล/ส่งต่อการตั้งครรภ์ มีแผนและดำเนินการ ตามแผน สนับสนุนทรัพยากร มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและRH การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ชุมชน ครอบครัวได้รับการอบรมความรู้เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ผลลัพธ์ วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม การตั้งครรภ์ซ้ำในแม่วัยรุ่นไม่เกินร้อยละ 10 การป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง ผลผลิต อำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

15 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
มี 5 องค์ประกอบ 1.ระดับอำเภอ 2. ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. ระดับครอบครัว/ชุมชน 4. ระดับสถานศึกษา 5. ระดับสถานบริการสาธารณสุข

16 แบบประเมิน มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
อำเภอที่รับการประเมิน จังหวัด มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ระดับคะแนน คะแนน หมายเหตุ องค์ประกอบ ตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 ที่ได้ รวม 1. อำเภอ 1.1 คณะกรรมการ/คณะทำงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ 1.2 แผนและการดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ 1.3 .ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ 1.4 การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1 แผนและการดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ อบต./เทศบาล : 2.2 สนับสนุนทรัพยากรดำเนินงาน 2.3 ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ 2.4 การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม 3. ครอบครัว / ชุมชน จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอนามัย คะแนนที่ได้คูณ 4 การเจริญพันธุ์สำหรับครอบครัว 4. สถานศึกษา กิจกรรมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ โรงเรียน : 5. สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาล :

17 องค์ประกอบที่ อำเภอ องค์ประกอบที่2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต./เทศบาลตำบล ) องค์ประกอบที่3 ครอบครัว/ชุมชน จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ จำนวนครอบครัวที่เข้ารับอบรมความรู้เกี่ยวกับอนามัยการ เจริญพันธุ์

18 องค์ประกอบ 4. สถานศึกษา 1. กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา 2
องค์ประกอบ 4. สถานศึกษา 1.กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา 2.ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหา 4.ระบบส่งต่อไปยังสถานบริการสาธารณสุข องค์ประกอบที่5. สถานบริการสาธารณสุข มีการจัดตั้งคลินิกวัยรุ่น/มีบริการเชิงรุก/มีการประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย

19 (District Health Board : DHB)
แนวคิดการบูรณาการการขับเคลื่อนงานร่วมกับ กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB)

20 ที่มา:สไลด์นำเสนอเกี่ยวกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(DHB:District Health Board) ของอ.นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิและอ.นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิ FB: DHB:District Health Board)

21 การบูรณาการกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) กับอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ การสนับสนุนให้พื้นที่มีการส่งเสริมและเสริมพลังในการจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ท้องถิ่น และชุมชน มีแนวทางการทำงานร่วมกัน เกิดการบูรณาการการทำงาน โดยสามารถบูรณางานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์กับกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) ที่มุ่งเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนโดยมีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นเจ้าของและภาวะการนำร่วมกัน โดยบูรณาการเป้าหมาย ทิศทางและยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และประชาชนอย่างเป็นองค์รวม เพื่อให้มีรูปแบบการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) หลักการ “พื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” โดยมีจุดมุ่งเน้น อยู่ที่ประชาชนและสามารถตอบสนองต่อปัญหาของพื้นที่ที่มีความจำเพาะแตกต่าง และหลากหลาย DHB คือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นที่ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนเกิดการบูรณาการเป้าหมาย ทิศทางและยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนอย่างเป็นองค์รวม เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยมีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นเจ้าของและภาวะการนำร่วมกัน โดยบูรณาการและประสานความร่วมมือในการนำไปสู่การสร้างเสริมให้บุคคล ครอบครัว และชุมชน มีสุขภาวะทางกาย จิต และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและเกิดความยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและบูรณาการร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพประชาชน 2.เพื่อจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) 3.เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอที่เหมาะสมกับพื้นที่ 4.เพื่อให้มีการจัดการทรัพยากร ด้านบุคลากร เทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ความรู้ และงบประมาณร่วมกัน องค์ประกอบ ทั่วไป (โดยตำแหน่ง 2 และการคัดเลือก 19) 1.ภาครัฐ (6) - ส่วนราชการ - ส่วนท้องถิ่น (อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 2. เอกชน และผู้ประกอบวิชาชีพ (6) 3. ประชาสังคม (7) : ประธาน นายอำเภอ เลขานุการ สสอ. ที่มา:สไลด์นำเสนอเกี่ยวกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(DHB:District Health Board) ของอ.นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิและอ.นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิ FB: DHB:District Health Board)

22 การขับเคลื่อนพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

23 ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ. ศ
ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ พัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและ ทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ และมีระบบการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมบทบาทครอบครัว ชุมชน และสถานประกอบกิจการในการเลี้ยงดูสร้างสัมพันธภาพ และการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่มีคุณภาพและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ การคุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการบูรณาการการจัดการฐานข้อมูล งานวิจัย และการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 5

24 Thankyou for your Attendtion


ดาวน์โหลด ppt หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google