งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปลูกฝังวิธีคิด ไม่โกง ไม่ทนอย่างยั่งยืนด้วยหลักสูตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปลูกฝังวิธีคิด ไม่โกง ไม่ทนอย่างยั่งยืนด้วยหลักสูตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปลูกฝังวิธีคิด ไม่โกง ไม่ทนอย่างยั่งยืนด้วยหลักสูตร
ต้านทุจริตศึกษาเข้าสู่ระบบการศึกษาและฝึกอบรม นายอุทิศ บัวศรี รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.

2 ที่ไม่ทนต่อการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งเน้นปลูกฝังจิตสำนึก ปรับฐานคิด พัฒนาหลักสูตร/บทเรียน/การเรียนการสอน/การถ่ายทอด ในทุกระดับ พัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และประกาศใช้อย่างจริงจัง 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อต่อต้านการทุจริต 1. ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต สร้างชุมชนเฝ้าระวัง ต่อต้านการทุจริต Social Sanction 2. ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการ กล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต 3. ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต กล่อมเกลาทางสังคมทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัย พัฒนานววัตกรรมสื่อการเรียนรู้ พัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ สื่อสารทางสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสริมบทบาทสื่อมวลชนและองค์กรวิชาชีพ พัฒนามาตรวัดทางสังคม ปรับใช้ในการกล่อมเกลา พัฒนาหลักสูตร/ปรับรูปแบบและวิธีการนำเสนอ พัฒนาระบบและองค์ความรู้

3 กระบวนการ พิจารณากรอบเนื้อหาหลักสูตรฯ ประกอบด้วย 4 ชุดวิชา
1) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 2) ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต 3) STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต 4) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อการสังคม พิจารณากรอบเนื้อหาหลักสูตรฯ ประกอบด้วย 4 ชุดวิชา ดำเนินการจัดทำเนื้อหาหลักสูตรฯ ประกอบด้วย 5 หลักสูตร 1) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) หลักสูตรอุดมศึกษา 3) หลักสูตรกลุ่มทหารและตำรวจ 4) หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช. /บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 5) หลักสูตรโค้ช ทดลองใช้ พิจารณาตรวจทานเนื้อหาหลักสูตรฯ คัดเลือกสื่อประกอบการเรียนรู้ฯ คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ฯ คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ฯ(๒๗ ก.พ. ๒๕๖๑) นำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปพิจารณาปรับใช้ คณะรัฐมนตรีมีมติให้ความเห็นชอบและให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปพิจารณาปรับใช้ (22 พ.ค. 61) 3

4

5 ระบบคิดฐานสอง(Binary Thinking)
Something is binary if it contains only two parts or options.  In mathematics or computing, those two parts are 1s and 0s. การแยกรัฐออกจากตัวคน ให้รัฐเป็นสถาบันเรียกว่ารัฐสมัยใหม่ เริ่มต้นจากการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพเวสฟาเลียในปี ค.ศ.๑๖๔๘ ตรงกับ ปี พ.ศ. ๒๑๙๑ รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง รัชกาลที่ ๒๔ แห่ง กรุงศรีอยุธยา

6 Digital Economy Digital Thailand 4.0 Digital Thinking Digital Industry

7 Element of State Population Fixed territory Government sovereignty

8 แนวความคิดพื้นฐาน : ประโยชน์สาธารณะ
- รัฐโดยองค์กรของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผู้ดูแลรักษาประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สาธารณะ - แต่ในกรณีที่ประโยชน์ส่วนตัวของเอกชนไม่สอดคล้องกับประโยชน์สาธารณะจะต้องให้ประโยชน์สาธารณะอยู่เหนือประโยชน์ส่วนตัวของเอกชน

9 ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับรัฐ
สถานะของเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นมีความสัมพันธ์กับรัฐ 2 สถานะ สถานะหนึ่ง คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ซึ่งเป็นบุคคลที่ทำงานให้กับรัฐหรือตัวแทนของรัฐ กับอีกสถานะหนึ่ง คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นเอกชนคนหนึ่ง

10

11 รูปแบบการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม

12 Continuous / Integrate
Analog Thinking Continuous / Integrate COI (ประโยชน์ทับซ้อน) Patronage System (ระบบอุปถัมภ์) Corruption

13 Digital Thinking Discrete 0 1 Ethic Merit System (จริยธรรม)
0 1 Ethic (จริยธรรม) Merit System (ระบบคุณธรรม) Good Governance (ธรรมาภิบาล) Modern State (รัฐสมัยใหม่) Rule of Law (นิติธรรม) Legal State (นิติรัฐ) กฎหมายสมัยใหม่ กฎหมายฐานสอง สังคมยุคดิจิตัล

14 ด้วยหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
การยกระดับค่า CPI ด้วยหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สถานการณ์การทุจริต - ประเมินจากดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ตั้งแต่ปี 2538 – 2๕๖๑ ประเทศไทยได้ค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 27 – 38 คะแนน ปี 256๑ ประเทศไทยได้ 3๖คะแนน อยู่ลำดับที่ 9๙จาก 180 ประเทศ เป้าหมาย ต้องการเพิ่มค่าคะแนนที่ 50 คะแนน 14

15 ความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริตอย่างยั่งยืนและเป็นระบบ
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ – 2564) ความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริตอย่างยั่งยืนและเป็นระบบ เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ ระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต สูงกว่าร้อยละ 50 15

16 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ – 2580) เป้าหมาย : ประเทศไทยปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตัวชี้วัด : ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทย 73 คะแนน ค่าเป้าหมาย : 62 คะแนน 57 คะแนน อันดับ 1 ใน 20 ดัชนี ของประเทศไทย CPI อันดับ 1 ใน 32 50 คะแนน อันดับ 1 ใน 43 อันดับ 1 ใน 54 ปี พ.ศ. 61-65 66-70 71-75 76-80

17 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนย่อย เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 61-65 66-70 71-75 76-80 1 การป้องกันการทุจริต และประพฤติ มิชอบ 1. ประชาชนมีวัฒนธรรมและพฤติกรรม ซื่อสัตย์สุจริต ร้อยละของเด็กและเยาวชนไทย มีพฤติกรรมที่ยึดมั่นความซื่อสัตย์สุจริต ร้อยละ 50 60 70 80 ร้อยละของประชาชนที่มีวัฒนธรรม ค่านิยมสุจริต มีทัศนคติและพฤติกรรมในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ร้อยละ 80 85 คะแนนขึ้นไป ร้อยละ 100 90 คะแนนขึ้นไป 2. คดีทุจริตและ ประพฤติมิชอบลดลง จำนวนคดีทุจริตในภาพรวมลดลง ลดลงร้อยละ 10 จำนวนคดีทุจริตรายหน่วยงานลดลง จำนวนข้อร้องเรียนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ที่ถูกชี้มูลเรื่องวินัย (ทุจริต) ลดลง ร้อยละ10 -จำนวนข้อร้องเรียนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ถูกชี้มูลว่ากระทำการทุจริต ลดลงร้อยละ10 จำนวนคดีทุจริตที่เกี่ยวข้องกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ลดลงร้อยละ 25 ลดลงร้อยละ 50 ลดลงร้อยละ 80 ลดลง ร้อยละ 90

18 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนย่อย เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 61-65 66-70 71-75 76-80 2 การปราบปราม การทุจริต การดำเนินคดีทุจริต มีความรวดเร็ว เป็นธรรม โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ กระบวนการดำเนินคดีทุจริตที่จำเป็นต้องขยายระยะเวลาเกินกว่ากรอบเวลาปกติที่กฎหมายกำหนด ไม่เกิน ร้อยละ 25 20 15 10 จำนวนคดีอาญาที่หน่วยงานไต่สวนคดีทุจริตถูกฟ้องกลับ ไม่เกินร้อยละ 4ของจำนวนคดีที่ ส่งฟ้อง ไม่เกินร้อยละ 3 ของจำนวนคดีที่ ส่งฟ้อง ไม่เกินร้อยละ 2 ของจำนวนคดีที่ ส่งฟ้อง ไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนคดีที่ ส่งฟ้อง

19

20 พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2560
มีผลบังคับใช้เดือน กุมภาพันธ์ 2560 ครอบครองสิ่งล่วงล้ำลำน้ำโดยไม่ได้รับอนุญาต ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับ ตร.ม.ละ 1,000-20,000 บาท

21 พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535
มาตรา 49 ก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร หรือติดตั้งป้ายโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต ระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

22 พระราชบัญญัติ รักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ
พระราชบัญญัติ รักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง  พ.ศ. 2560 ซื้อ – ขายกล้วยแขกกลางสี่แยก เสี่ยงอุบัติเหตุ – ผิดกฎหมาย !!! มาตรา 20 ห้าม ปรุงอาหาร ขายหรือจำหน่ายสินค้าบนถนนหรือที่สาธารณะ ฝ่าฝืนระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท มาตรา 21 ห้ามผู้ขับขี่รถซื้อสินค้าที่จำหน่ายบนถนน ฝ่าฝืนระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท

23

24 โรงแรมเอกชนสถานที่จัดสัมมนาเรื่องทุจริตและประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานภาครัฐแห่งหนึ่ง

25

26 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 54 ห้ามจอดรถกีดขวางการจราจร มาตรา 57 ห้ามจอดรถในที่ห้ามจอด ฝ่าฝืนระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท

27

28 พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป
No gift policy การไม่รับเงินเปอร์เชนต์ยาเข้าสวัสดิการของโรงพยาบาล


ดาวน์โหลด ppt การปลูกฝังวิธีคิด ไม่โกง ไม่ทนอย่างยั่งยืนด้วยหลักสูตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google