ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
3
มาตรฐานการเรียนรู้ การระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นยังเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
4
ตัวชี้วัด การระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วย การเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับ การวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
5
กระบวนการ (Process and Skill)
มาตรฐานและตัวชี้วัด คุณลักษณะ (Attribute) ความรู้ (Knowledge) กระบวนการ (Process and Skill)
6
ความรู้ (Knowledge) ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (Factual Knowledge)
ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด (Conceptual Knowledge) ความรู้ที่เป็นกระบวนการ (Procedural Knowledge) ความรู้ที่เป็นอภิปัญญา (Meta-cognitive Knowledge) ความรู้ (Knowledge)
7
คุณลักษณะ (Attribute)
คนดี คนเก่ง คนมีความสุข
8
ทักษะและกระบวนการทำงาน
กระบวนการและทักษะ (Process and Skill) ทักษะการสื่อสาร ทักษะและกระบวนการทำงาน ฟัง พูด อ่าน เขียน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ คิดแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การปฏิบัติงาน
9
ขั้นตอนการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ
วิเคราะห์ตัวชี้วัด คำสำคัญ K, P, A กระบวนการ (Process) ภาระงาน ผลงาน (Product)
10
ตัวอย่างการวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด
11
คำสำคัญ ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด คำสำคัญ ความรู้ ( Knowledge) คุณลักษณะ (Attribute) ทักษะ (Process and Skill) 1.อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน - อ่านออกเสียง 2.ระบุความแตกต่างของคำที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ระบุ
12
คำสำคัญ ตัวชี้วัด ความรู้ คุณลักษณะ ทักษะ ( Knowledge) (Attribute)
(Process and Skill) 3.ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด ของข้อมูลที่สนับสนุน จากเรื่องที่อ่าน ระบุ - 4.อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน เขียนกรอบแนวคิด 5.วิเคราะห์วิจารณ์ และประเมินเรื่อง ที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น วิเคราะห์ ประเมิน วิจารณ์ 6.ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน ประเมิน
13
คำสำคัญ ตัวชี้วัด ความรู้ คุณลักษณะ ทักษะ ( Knowledge) (Attribute)
(Process and Skill) 7.วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง - วิจารณ์ 8.วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ 9.ตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิด ที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ตีความประเมิน 10.มีมารยาทในการอ่าน มีมารยาท
14
การวิเคราะห์งาน(Task) เพื่อการออกแบบการเรียนรู้
15
ลักษณะของงานที่เหมาะสมกับการประเมินภาคปฏิบัติ
1. บูรณาการระหว่างเนื้อหากับทักษะที่สำคัญ (essential skills) 2. เป็นงานที่มีอยู่จริง (authentic) 3. สามารถประเมินผลการเรียนรู้ได้หลายด้าน (to assess multiple learning targets) 4. สามารถช่วยให้นักเรียนทำได้สำเร็จ (can help students succeed ) 5. เป็นงานที่มีความยืดหยุ่น (feasible)
16
ลักษณะของงานที่เหมาะสมกับการประเมินภาคปฏิบัติ
ต่อ 6. สามารถทำได้หลายวิธี (multiple solutions) 7. มีความชัดเจน (clear) 8. เป็นงานที่ท้าทายและเร้าใจให้นักเรียนทำ (be challenging and stimulating to students) 9. มีเกณฑ์การให้คะแนน (scoring criteria) ที่ชัดเจน 10. ระบุเงื่อนไขความสำเร็จของงานอย่างชัดเจน (Constraints for completing the task)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.