ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อ. ธนา ยีรัมย์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
บทที่ 5 ภัยใกล้ตัว อ. ธนา ยีรัมย์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
2
บทนำ องค์ประกอบของภัยพิบัติ
เงื่อนไขที่ไม่ปลอดภัย เหตุการณ์ทางธรรมชาติ เหตุการณ์จากมนุษย์กระทำ สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย แผ่นดินไหว วาตภัย อุทกภัย ดินถล่ม ไฟป่า ความแห้งแล้ง ภัยพิบัติ เขตภัยพิบัติ ตึกรางบ้านช่องพัง ป่าไม้ถูกทำลาย ภาวะเศรษฐกิจและสังคม ข้าวยากหมากแพง เสี่ยงต่อภัย สารอันตราย มลพิษสิ่งแวดล้อม สภาวะโลกร้อน
3
การเตรียมรับสถานการณ์และป้องกัน
การลดความเสี่ยง การป้องกัน วัฏจักร ของภัย เหตุการณ์ภัยพิบัติ การสร้างใหม่ การฟื้นฟู การฟื้นฟู การเก็บกู้
4
5.2 ภัยจากธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติที่มีความรุนแรง ธรณีพิบัติ
วาตภัย อุทกภัย และ ภัยแล้ง ไฟป่า
5
ธรณีพิบัติ : แผ่นดินไหว
เกิดจากการแตกหรือแยกออกของชั้นหินใต้เปลือกโลก มักเกิดขึ้นตามแนวรอยต่อของเปลือกโลก
6
ภาพจากบีบีซี ต้องเตรียมความพร้อมไว้ ภัยที่ปักษ์ไต้ ในประเทศไทย อาจมีทุกเมื่อ ผู้เชี่ยวชาญเตือนใกล้พม่า ใช้อินเทอร์เนต ติดตามความเคลื่อนไหว
7
ระดับความรุนแรงตามมาตราริคเตอร์
ผู้คนเริ่มมีความรู้สึกถึงการสั่น ผู้คนในอาคารรู้สึกเหมือนรถไฟวิ่งผ่าน คนทั้งภายในและนอกอาคาร รู้สึกถึงการสั่นสะเทือน สั่นไหวรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง วัตถุมีการเคลื่อนที่ 6-6.9 อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย 7.0 ขึ้น อาคาร สิ่งก่อสร้างมีความ เสียหายอย่างมาก แผ่นดินแยก วัตถุที่อยู่บนพื้นถูกเหวี่ยงกระเด็น
9
12 พ. ค. 51 เกิดแผ่นดินไหวที่เสฉวน ประเทศจีนขนาด 7
12 พ.ค. 51 เกิดแผ่นดินไหวที่เสฉวน ประเทศจีนขนาด 7.8 ริคเตอร์ทำให้อาคารโรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ มีผู้เสียชีวิตกว่าหมื่นคน
10
นายสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในจีนว่า “อาจมีผลเล็กน้อยต่อรอยเลื่อนในประเทศไทย” การเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ๆ ในโลก ซึ่งมีรอยเลื่อนทั้งหมด 14 แห่ง เปรียบเหมือนแก้วที่เกิดรอยร้าว รอยแตก หากมี อะไรไปกระทบกระเทือน แก้วก็จะยิ่งแตกมากขึ้น
11
การเตรียมรับสถานการณ์
ระยะสั้น สร้างแผนป้องกันภัย ซักซ้อมการหนีภัยแผ่นดินไหว ระยะยาว ศึกษาวิจัยธรรมชาติของแหล่งกำเนิด ออกกฎหมายอาคาร ที่มา : คลังปัญญาไทย Tmdseismology.com Thaisnews.com
12
คลื่นสึนามิ หมายถึง "ท่าเรือ" (สึ) และ "คลื่น" (นะมิ)
จากแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด หรือการเลื่อนตัวของพื้นมหาสมุทร ขนาดคลื่นยาว กิโลเมตร ความสูงของคลื่นเฉลี่ย 9 เมตร
13
ประเทศไทยกับสึนามิ แผ่นดินไหวขนาด 9 ริกเตอร์
มหาสมุทรบริเวณตอนเหนือของเกาะสุมาตรา 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 พังงา กระบี่ ภูเก็ต ระนอง ตรัง และสตูล ผู้เสียชีวิตกว่า 5,300 ราย ผู้เสียชีวิตประมาณ 300,000 ราย ทั่วโลก
14
พื้นที่ประสบสึนามิจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
15
การเตรียมรับสถานการณ์
ให้ความรู้ความเข้าใจด้านสภาพพื้นที่ อุปกรณ์หรือระบบเตือนภัย ซักซ้อมระบบและคนเป็นระยะ เตรียมแผนอพยพ DART: Deep Ocean Assessment & Reporting on Tsunami
16
แผ่นดินถล่ม การสึกกร่อนของพื้นดินโดยกระแสลมและกระแสน้ำ
เนินสูงหรือภูเขาที่มีความลาดชันมากมีความเสี่ยง เกิดขณะฝนตกหนัก
17
การเตรียมรับสถานการณ์
แผนป้องกันภัยพิบัติจากดินถล่ม ให้ความรู้กับประชาชน ปลูกต้นไม้ ปรับพื้นที่
18
5.2.2 อุทกภัยและภัยแล้ง 1. น้ำท่วม การตัดไม้ทำลายป่า
การวางผังเมืองและระบบระบายน้ำที่ไม่ดี ระบบจัดการน้ำไม่ดีพอ
19
2. ภัยแล้งในประเทศไทย เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก เอลนินโญ และไฟป่า ป่าหมด ช่วงฤดูหนาวระหว่างเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์ ต่อเนื่องมาถึงฤดูร้อน เกิดการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ และอาหาร
20
การเตรียมรับสถานการณ์
เข้าใจสภาพท้องที่ ติดตามพยากรณ์อากาศ เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นในช่วงน้ำท่วม จัดระบบชลประทาน จิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม
21
5.2.3 วาตภัย กระแสลมแรง พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน
22
พายุฝนฟ้าคะนอง อากาศร้อนชื้นยกตัวสูงขึ้น และก่อตัวเป็นเมฆฝน
มักเกิดในเขตร้อนแถบใกล้เส้นศูนย์สูตรโลก 1. เกิดจากมวลอากาศ 2. เกิดจากแนวปะทะ 3. เกิดจากความลาดชันของภูเขา
23
พายุหมุนเขตร้อน: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
พายุหมุนเขตร้อน: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก 1.พายุกำลังอ่อน หรือดีเปรสชั่น < 62 km/hr 2. พายุกำลังปานกลาง หรือพายุโซนร้อน km/hr 3. พายุที่รุนแรง เช่น พายุไต้ฝุ่น (typhoon) เฮอริเคน ไซโคลน >118 km/hr
24
ปีนี้อาจมีพายุก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันออกเฉียงเหนือกว่า 30 ลูก
พายุไซโคลนนาร์กีสที่ขึ้นฝั่งที่ปากน้ำอิรวดี พม่าเมื่อ 2 พ.ค. 51 คนตายกว่า23,335 คนและสูญหายกว่า 37,019 คน มีผู้ไร้ที่อยู่อาศัยนับล้านคน (8 พ.ค.) มีพายุโซนร้อน "รามสูร" เริ่มก่อตัวทางตะวันออกของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ ปีนี้อาจมีพายุก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันออกเฉียงเหนือกว่า 30 ลูก
25
การเตรียมรับสถานการณ์และป้องกัน
ความเร็วลมและฟ้าผ่า อยู่ในอาคารที่แข็งแรง มีสายล่อฟ้า งดใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและสื่อสาร ระวังน้ำท่วมฉับพลันและดินถล่ม
26
5.2.4 ไฟป่า ลุกลามไปได้โดยอิสระปราศจากการควบคุม ฟ้าผ่า
หาของป่าและล่าสัตว์ เผาไร่ เผาป่าเพื่อเลี้ยงสัตว์ การพักแรมในป่า กลั่นแกล้ง พื้นที่เช่นแอฟริกา ไซบีเรีย มองโกเลีย ประสบกับความแห้งแล้งอย่างหนัก ป่าที่มีความชื้นต่ำและมีอุณหภูมิสูง ย่อมเสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าได้มากขึ้น ดังเช่น ไฟป่าในอินโดเนเซีย ออสเตรเลีย อเมริกา หรืออะเมซอน ที่เกิดขึ้นบ่อยขึ้น ไฟป่ายังเป็นปัจจัยที่ยิ่งเร่งภาวะโลกร้อนให้รุนแรงยิ่งขึ้น เนื่องจากปล่อยมลภาวะคาร์บอนอย่างมหาศาลอีกด้วย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.