ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPernilla Vikström ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
Social Development 01460443 การพัฒนาสังคม คณะวิทยาการจัดการ
อาจารย์พรเทพ พัฒธนานุรักษ์ อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ และคณะ คณะวิทยาการจัดการ 1-2 : 12 ส.ค. 61
2
วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันอาทิตย์ เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10306
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันอาทิตย์ เวลา น. ห้อง 10306 หมู่ 850 วันอาทิตย์ เวลา น. ห้อง 10306 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันอังคาร/วันพุธ/วันศุกร์ เวลา น. - วันพฤหัสบดี เวลา น. - วันอาทิตย์ เวลา น. - วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : : : Line ID : ts13ku-3 : Tel. : 2
3
: Development :- The Meaning of Development
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development : Social :- Economic/ Social/ Politic/ Population/ Culture/ Environment/... : Development :- The Meaning of Development Understanding the Overall View of Development Concept and Theory of Development Theoretical Concepts in Social Development The Impact of Development Social Development in Practice Participatory Action Research Social Development Policy in Thailand 3
4
วัตถุประสงค์ของวิชา 01460443 การพัฒนาสังคม 3 หน่วยกิต
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย สาระสำคัญของการ พัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนากระแสหลักต่างๆ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรมและการประยุกต์ใช้และผลการพัฒนา ตามตัวแบบการพัฒนาในประเทศต่างๆ รวมทั้งนโยบายการ พัฒนาสังคม วัตถุประสงค์ของวิชา 3. เพื่อให้นิสิตมีความสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาระสำคัญของ แนวคิด ทฤษฎีทางการพัฒนาและสังคมวิทยา ตัวแบบการ พัฒนา วิธีการศึกษาวิจัยสังคมและการพัฒนาสังคมที่เกี่ยว ข้องกับการพัฒนา รวมทั้งการกำหนดทิศทางการพัฒนาและ แนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการพัฒนาที่มีต่อสังคม
5
1 2 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : 1 Understanding the overall view of social development, theoretical concepts in social development, modernization theory, dependency theory, Marxism, neoliberalism, socialism, globalization and development. Social development in practice, social capital, civil society and social exclusion, sustainable development, research methods for social development. Participatory action research, social development policy in Thailand. 2 หลักความเข้าใจภาพรวมในเรื่อง การพัฒนาสังคม แนวคิดเชิงทฤษฎี เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม ทฤษฎีความทันสมัย ทฤษฎีการพึ่งพา ทฤษฎีมากซ์ เสรีนิยมใหม่ สังคมนิยม โลกาภิวัตน์กับการพัฒนา แนวทางเชิงปฏิบัติในการ พัฒนาสังคม ทุนทางสังคม ประชาสังคม การกีดกันทางสังคม การพัฒนาที่ยั่งยืน วิธีการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาการพัฒนาสังคม การวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยการมีส่วนร่วม นโยบายการพัฒนาสังคมในประเทศไทย 5
6
วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การบรรยาย การอธิบาย การศึกษาตรวจสอบและทบทวน การนำเสนอตัวอย่างและค้นคว้าตำรา เอกสาร ผลงานวิจัย การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม การเรียนและ การสอน การค้นคว้า การรวบรวม วิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การทำแบบฝึกหัด การทำงานที่มอบหมายและการทดสอบ การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การจัดทำรายงาน การฝึกวิเคราะห์ วิจารณ์และการนำเสนอติ การเขียนรายงาน การสรุปและการนำเสนอผลการศึกษา การฝึกทักษะ 6
7
เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development อุปกรณ์และสื่อการสอน : เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน หนังสือ ตำรา แบบฝึกหัด สื่อการสอน /เครื่องมือ /อุปกรณ์ นำเสนอ เครื่อง คอมพิวเตอร์/ เครื่องพิมพ์/ โปรแกรม เอกสาร ประการสอน 7
8
* * การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน :
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วม สนใจและแลกเปลี่ยนในการเรียนสม่ำเสมอ ร้อยละ 10 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 20 3. การทำรายงานและนำเสนอ ร้อยละ 20 4. การสอบกลางภาค ร้อยละ 20 5. การสอบปลายภาค ร้อยละ 30 หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกัน ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน * * : ขาดทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายให้ทำ จะต้องส่งงานภายใน 5 วัน นับตั้งแต่วันสั่งงาน 8
9
การประเมินผลการเรียน :
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0 9
10
ข้อกำหนดในการเรียน : นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง
การพัฒนาสังคม หน่วยกิต Social Development ข้อกำหนดในการเรียน : นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง (อย่างน้อย 12 ครั้งๆ ละ 3 ช.ม.) นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลากิจ 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลาป่วยจะต้องมีใบรับรองแพทย์ทุกกรณี * คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง* นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนขณะสอนอันมีผลทำให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพ นิสิตต้องทำงาน ส่งงานและเข้าร่วมทำงานกลุ่มตามที่รับมอบหมายอย่างสม่ำเสมอ 10
11
11
12
มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา
ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment
13
วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา
ปรับตัว รวดเร็ว ชุมชน เข้มแข็ง นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพิ่มทุน ทางสังคม ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ พอเพียงและยั่งยืน สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร เพิ่มขีด ความสามารถ คุ้มค่า ประสิทธิภาพ ไม่ทำลาย จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา 13
14
สิ่งแวดล้อม วัตถุดิบ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ สั่งสินค้า บริการสินค้า
ของเหลือ วัตถุดิบ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ ของทิ้ง สั่งสินค้า บริการสินค้า สิ่งแวดล้อม ผู้บริโภค ของทิ้ง ของเหลือ 14
15
นำกลับใช้ใหม่ สิ่งแวดล้อม วัตถุดิบ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ
มาตรการ นำกลับใช้ใหม่ วัตถุดิบ ของเหลือ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ ของทิ้ง บริการสินค้า สิ่งแวดล้อม สั่งสินค้า ผู้บริโภค ของทิ้ง ของเหลือ นำกลับมาใช้ใหม่ มาตรการ 15
16
การพิจารณาประเมินผล คุณค่า (Values) การให้ความสำคัญ บริบทสังคม / วิถีชีวิต (Social Context) พื้นฐานมนุษย์ การตัดสินใจ (Decision) พิจารณารอบด้านอย่างเชื่อมโยง ทรัพยากร (Resources) การใช้อย่างคุ้มค่า/อนุรักษ์ หลักฐาน (Evidence) บทเรียนที่ต้องศึกษา 16
17
3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา
สร้างความรู้ (K) เคลื่อนไหวทางสังคม (S) เชื่อมต่อกับการเมือง (P) 3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา 17
18
กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
“การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูลกันเพื่อ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป” 18 18
19
19
20
THAILAND 20
21
ทุนการพัฒนา ทุนทางธรรมชาติ (Natural capital) ทุนทางสังคม ทุนทางมนุษย์
เทคโนโลยี เทคโนโลยี ทุนทางธรรมชาติ (Natural capital) ทุนทางสังคม (Social capital) ทุนทางมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital) เทคโนโลยี เทคโนโลยี 21
22
หลังสงครามโลก II 1945 วิกฤตการแห่งการพัฒนา
การตั้งองค์การสหประชาชาติ 1943 ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศที่ร่ำรวย/พัฒนาแล้วช่วยเหลือประเทศยากจน/ด้อยพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกามีบทบาทมาก ประเทศทุกประเทศทั่วโลกมีความเท่าเทียมกัน คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หน้าที่ประเทศพัฒนาแล้วต้องช่วยเหลือประเทศด้อยพัฒนา
23
การแบ่งกลุ่มประเทศเชิงการเมือง
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ประเทศโลกที่ 1 = ประเทศ เสรีนิยมอุตสาหกรรม การแบ่งกลุ่มประเทศเชิงการเมือง ประเทศโลกที่ 2 = ประเทศสังคมนิยม ประเทศโลกที่ 3 = ประเทศ ด้อยการพัฒนา แนวทางความช่วยเหลือ แนวทางเสรีนิยมประชาธิปไตย องค์กรระดับโลกทำหน้าที่ เศรษฐกิจและการเงิน - องค์การสหประชาชาติ เทคนิคและเชี่ยวชาญ - ธนาคารโลก ทหารและการเมือง - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
24
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ธนาคารโลก
ความช่วยเหลือปรับปรุงโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต ธนาคารโลก คำขอความช่วยเหลือ ประเทศโลกที่ 3 ความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านผู้เชี่ยวชาญ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศสำคัญ ความช่วยเหลือให้แก่ประเทศ ทั่วไป : ขัดข้องเงินทุนสำรอง สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ
25
วิกฤตการแห่งการพัฒนา
เร่งรัดอุตสาหกรรมเป็นแกนนำ การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ Modernization Theory สร้างความเป็นเมือง ปรับระบบการบริหาร ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง - ความเหลื่อมล้ำและแตกต่าง เศรษฐกิจขยายตัว เมืองเติบโตรวดเร็ว - การพึ่งพาต่างประเทศ การบริการเพิ่มขึ้น - ความถดถอยของประเทศ
26
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ(Economic)
ภาวะการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจ(Economic) - การผูกขาดทางการตลาด ผู้ประกอบการในประเทศ เติบโตค่อนข้างช้า ทางการเมือง (Political) - การดำเนินนโยบาย - การแทรกแซง
27
วิกฤตการแห่งการพัฒนา ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม
- ลักษณะเฉพาะทาง ความสัมพันธ์ทางการเมือง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - คุณลักษณะทางวัฒนธรรม และจริยธรรมของประเทศ Concrete Situations - ความเป็นมาและพัฒนาการสังคม - พื้นฐานระบบการผลิตและความชำนาญ - ระบบสังคม วัฒนธรรมและการเมือง
28
ความมุ่งหมายประเทศกำลังพัฒนา
- ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) - ขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง : - ระบบเศรษฐกิจ - เพิ่มอำนาจการเจรจาต่อรอง บรรษัทข้ามชาติ/ทุนนิยม - ระบบสังคม - ภาวะพึ่งพากันปราศจากการ ครอบงำและขูดรีด (Interdependence) - ระบบการเมือง - ระบบวัฒนธรรม - ระบบทรัพยากร
29
วิกฤตการแห่งการพัฒนา
- รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญต่อ การพัฒนา การเปลี่ยนแปลง ความคิด - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็น แนวทางการพัฒนา ความหมายการพัฒนา ที่แท้จริง - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่ การพัฒนาที่ดีเสมอ การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตรกรรม เทคโนโลยีชั้นสูง = เทคโนโลยีพื้นฐาน ความสมดุล = ความแตกต่าง
30
ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ
บริบทพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ ดุลยภาพทางสังคม ดุลยภาพที่เกื้อกูลและ ไม่เกิดความขัดแย้ง กันและกัน ดุลยภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพทางสิ่งแวดล้อม
31
การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา
1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค 31
32
การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก
การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และ ธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินและธุรกิจ เอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น 32 32
33
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ
นาโนเทคโนโลยี 33 33
34
ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม
34 34
35
มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต 35 35
36
การขยายตัวของความเป็นเมือง
โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง 36 36
37
หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality 37
38
Economic Restructuring
Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations 38
39
โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ 39
40
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน
กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน 40
41
คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
Change การเปลี่ยนแปลง Progress ความก้าวหน้า Innovation นวัตกรรม Modernization ความทันสมัย Expansion การขยายตัว Wealth รุ่งเรือง/มั่งคั่ง Transformation การเปลี่ยนรูป Growth ความเจริญเติบโต 41
42
คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
Evolution วิวัฒนาการ Reformation การปฏิรูป Revolution การปฏิวัติ Development การพัฒนา Civilization อารยธรรม Paradigm กระบวนทัศน์ Scenareo ภาพทัศน์ Strategic ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ 42
43
คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
การเปลี่ยนแปลง (Change) ความก้าวหน้า (Progress) การประดิษฐ์/นวัตกรรม (Innovation) ความทันสมัย (Modernization) การขยายตัว (Expansion) ความเจริญรุ่งเรือง/ความมั่งคั่งสมบูรณ์ (Wealth) คำกลางๆ ที่ใช้ในการอธิบายวิธีที่จะทำให้เกิดความเจริญในความหมายทั่วๆ ไป 43 43
44
คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
คำที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับกระบวน การเปลี่ยนแปลง - อะไร - เรื่องใด - ส่วนใด การแปลงรูป (Transformation) ความเจริญเติบโต (Growth) การพัฒนา (Development) วิวัฒนาการ (Evolution) การปฏิรูป (Reformation) การปฏิวัติ (Revolution) คำที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับจังหวะขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลง 44 44
45
ความหมายของการพัฒนา หลักเกณฑ์การพิจารณา 1. ลักษณะสัมพันธ์ (Relative) :
2. ลักษณะที่มีเข็มมุ่ง (Goal-orientated) : 3. ลักษณะที่มีค่านิยมสอดแทรก (Normative) :
46
คุณสมบัติของสังกัปการพัฒนา (Concept)
1. ลักษณะสัมพันธ์ (Relative) : - สังกัปไม่ตายตัว/แน่นอนเสมอไป - คุณสมบัติในเชิงเปรียบเทียบ การพิจารณาสิ่งใด/สิ่งหนึ่งว่า พัฒนาหรือไม่พัฒนาจะต้องเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นประเภทเดียวกัน 46 46
47
2. ลักษณะที่มีเข็มมุ่ง (Goal-orientated) :
คุณสมบัติของสังกัปการพัฒนา (Concept) 2. ลักษณะที่มีเข็มมุ่ง (Goal-orientated) : รูปแบบลักษณะเชื่อมโยงจุดเริ่มต้นกับจุดหมายปลายทาง และเป้าหมาย คือ “การพัฒนาแล้ว”(Developed-ness) : Development + สภาวะ (State-of-being) + กระบวนการ (Process) 47 47
48
3. ลักษณะที่มีค่านิยมสอดแทรก (Normative) :
คุณสมบัติของสังกัปการพัฒนา (Concept) 3. ลักษณะที่มีค่านิยมสอดแทรก (Normative) : - การพัฒนาเป็นการได้มาซึ่งสภาวะที่พึงปรารถนา : ความคิดของแต่ละบุคคล และค่านิยมที่ยึดถือ - การโต้แย้งเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นประเด็นความชอบหรือค่านิยม (Value preference) การได้มาซึ่งสภาวะที่พึง ปรารถนา : ตามความคิดแต่ละบุคคลและค่านิยมที่ยึดถือ - ประเด็นการพัฒนา : เชิงกระบวนการ (Process) = การได้มาในสิ่งชอบจำนวนมากที่สุด : เชิงสภาวะ (State-of-being) = ความนิยมชมชอบคนในสังคมนั้น เป็นประเด็นจริยธรรม 48 48
49
1 การขจัดความยากจน : ปรับปรุงระบบบริหารจัดการทั้งระบบ เชื่อมโยง
นโยบายของรัฐบาล การขจัดความยากจน : ปรับปรุงระบบบริหารจัดการทั้งระบบ เชื่อมโยง การแก้ไขความยากจนทุกระดับ (บุคคล ชุมชน ประเทศ ) สร้างกลไกเชื่อมโยง คนยากจนในชุมชนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์และทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ : การทำให้คนมีความสุข มีสุขภาพ แข็งแรง ครอบครัวอบอุ่น มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีสังคมที่สันติและเอื้ออาทร รวมถึงการอนุรักษ์ส่งเสริมทุนทางสังคมที่เข้มแข็งของประเทศไทย การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ : การปรับ เปลี่ยนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ สามารถขยายตัวได้อย่าง ยั่งยืนกระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้อย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อกระแส การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์
50
6) การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี :
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : ส่งเสริมและ เร่งฟื้นฟูความสมบูรณ์ของดินและน้ำสู่ธรรมชาติ แก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรม และมลภาวะเพื่อคืนสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับคนไทย การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ : ดำเนินนโยบายการ ต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่จะรักษาผลประโยชน์ของประเทศไทย แสวงหาพันธมิตรและสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศในระดับประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค 6) การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี : พัฒนากฎหมายทั้งระบบให้ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ยกเลิก กฎหมายที่ไม่มีการบังคับใช้ พัฒนากฎหมายเศรษฐกิจให้สอดรับกับการปรับ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ที่เน้นการขยายโอกาสให้คนจน และเพิ่มศักยภาพการ แข่งขันของประเทศ รวมทั้งบริหารกิจการบ้านเมืองอย่างโปร่งใส ปลอดทุจริต
51
การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม : เน้นการมี ส่วนร่วมและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน รับฟังความคิดเห็น จากประชาชนตามรัฐธรรมนูญมาตรา 59 ส่งเสริมการทำงานของ องค์กรอิสระ ส่งเสริมบทบาทผู้นำชุมชน หรือปราชญ์ท้องถิ่น กระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่น การรักษาความมั่นคงของรัฐ : พัฒนาระบบการป้องกันประเทศตาม แนวทางการป้องกันประเทศที่ได้มาตรฐาน โดยการเสริมสร้างจิตสำนึก และนำภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันประเทศ พัฒนาความพร้อมและความทันสมัยของกองทัพให้มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการรักษาอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ สนับสนุนภารกิจในการรักษาสันติภาพในภูมิภาคต่างๆ ภายใต้กรอบของสหประชาชาติ
52
ทิศทางการพัฒนาในการพัฒนา
2 ทิศทางการพัฒนาในการพัฒนา ของหน่วยงานภาครัฐ 1) การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ : พัฒนาสมรรถนะและขีดความสามารถของ คนไทย เสริมสร้างองค์ความรู้และภูมิปัญญาแก่คนไทย รวมทั้งการปฏิรูป ระบบการเรียนการสอน 2) การพัฒนาสังคมเชิงรุก : การเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ประชาชนทุกวัย สร้าง ความมั่นคงและปลอดภัยให้คนและสังคม เสริมสร้างสังคมสันติสุข และเตรียม ความพร้อมในการเข้าสู่สังคมสูงอายุ 3) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ : การพัฒนาศักยภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ การเพิ่มผลิตภาพในการผลิต การค้าและบริการ การเพิ่มประสิทธิภาพของ องค์กร เครือข่ายและกลไกเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้ง การยกระดับความสามรถทางเทคโนโลยี การต่อยอดทางนวัตกรรม
53
ทิศทางการพัฒนาในการพัฒนา
ของหน่วยงานภาครัฐ 4) การพัฒนาความเข้มแข็งทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม : สร้างและพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งเสริมการ วิจัยพัฒนา และนวัตกรรมที่ตอบสนองการผลิต บริการ และการตลาด 5) เสริมสร้างความสมดุลของการพัฒนา: แก้ไขปัญหาความยากจนและการ กระจายรายได้ สร้างความมั่งคั่งให้กับชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน รักษา ความสมดุลและยั่งยืนเชิงนิเวศน์ รวมทั้งแก้ไขปัญหายาเสพติด สร้าง ความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน และความเป็นธรรมในสังคม 6) การบริหารจัดการที่ดีของภาคีการพัฒนา : เร่งสร้างความเข้มแข็งภาค ประชาชน เสริมสร้างธรรมาภิบาลให้กับภาคีการพัฒนา รวมทั้งเสริม สร้างและปรับปรุงระบบ กลไกให้เอื้อต่อการบริหารจัดการที่ดีของทุก ภาคีการพัฒนา
54
การบริหารจัดการยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
3 การบริหารจัดการยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การสร้างกระบวนการในการทำงานร่วม การสนับสนุนด้านงบประมาณ การแก้ไขกฎระเบียบที่ไม่อำนวย ระบบข้อมูลและการติดตามประเมินผล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.