งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
จังหวัดเพชรบุรี

2 สถานการณ์วัณโรคจังหวัดเพชรบุรี
อัตราป่วยTB รายใหม่และกลับเป็นซ้ำ จำนวนผู้ป่วยTB รายใหม่และกลับเป็นซ้ำ TB Incidence in Thailand (WHO 2016) 172/แสนปชก. อัตราการรักษาสำเร็จวัณโรครายใหม่ (2556 – 2558) ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา (MDR – TB) เกณฑ์ 85 % รพ. ผ่านการประเมิน QTBC จำนวน 5 แห่ง

3 การดำเนินงานวัณโรค ปี 2560
ผลการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี (1-3/2560) ปัญหา เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 763 307 40.23 เกณฑ์ 80 % จาก 172 ต่อแสนประชากร 1. การค้นหายังไม่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยง 2. ผู้ป่วยบางรายยังไม่ให้ความร่วมมือใน การรักษา ผู้ป่วย MDR – TB มีจำนวนเพิ่มขึ้น มาตรฐานคลินิควัณโรคยังไม่ผ่านการประเมิน อำเภอ จำนวน ร้อยละ เมือง 134 89.93 เขาย้อย 9 18.00 หนองหญ้าปล้อง 13 72.22 ชะอำ 50 59.52 ท่ายาง 48 45.28 บ้านลาด 17 26.98 บ้านแหลม 20 28.57 แก่งกระจาน 16 40.00 มาตรการ 1. การเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง 2. การติดตามลงเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำ และผู้ป่วยดื้อยาทุกราย 3. การทำ Case Management ในกลุ่มผู้ป่วย MDR – TB ทุกราย 4. พัฒนามาตรฐานคลินิควัณโรคให้ผ่านการประเมินทุกแห่ง กิจกรรมสำคัญ 1. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรค 2. การประชุมแลกเปลี่ยนการดำเนินงานเจ้าหน้าที่ด้านงานวัณโรคและจัดทำแนวทางในการวางระบบดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา 3. การรับการตรวจประเมินมาตรฐานคลินิกวัณโรคคุณภาพ(QTBC) 4. บริการตรวจคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงเรือนจำ สถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งกุ่มสะแก และพื้นที่เขตอำเภอเมืองเพชรบุรี

4 ผลงานการรักษา ตามตัวชี้วัด 1/2560 new m+,m-Re,Ep,ไม่มีผลเสมหะ
Success Rate ผลงานการรักษา ตามตัวชี้วัด 1/2560 ตุลาคม ธันวาคม 2559 อำเภอ new m+,m-Re,Ep,ไม่มีผลเสมหะ Success (88%) cure+com Fail(≤3%) Death(≤6%) Default(≤3%) No eva. ราย ร้อยละ เมือง 36 21 58.33 5 13.89 1 2.73 6 13.67 เขาย้อย 20.00 3 60.00 หนอง 2 40.00 ชะอำ 19 14 73.68 5.26 10.53 ท่ายาง 12 10 83.33 16.67 บ้านลาด 4 50 25.00 บ้านแหลม 100 แก่ง รวม 85 55 64.7 8 9.4 4.70 13 15.29

5 การรักษา MDR TB อำเภอ จำนวน MDR TB XDR TB กำลังรักษา หาย ขาดยา ตาย
โอนออก เมือง 8 1 4 เรือนจำ 11 2 บ้านลาด บ้านแหลม ชะอำ ท่ายาง 3 แก่งกระจาน เขาย้อย รวม 33 21 5

6 สถานการณ์วัณโรคจังหวัดเพชรบุรี
XDR - TB ผู้ป่วย XDR TB จำนวน 2 ราย ในอำเภอชะอำ และอำเภอเมือง

7 การป้องกันการดื้อยา

8 เป้าหมายในการดำเนินงาน (Goal) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ลดการแพร่กระจายของโรค การวินิจฉัยโรคได้ถูกต้อง และรายงานให้ครอบคลุม ความครอบคลุมในการใช้ TBCM Online ค้นให้พบ 785 ราย/ปชก. การค้นหาผู้ป่วยทุกประเภทเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ประชากร 7 กลุ่มเสี่ยง ได้รับการ CXR ทุกราย อุบัติการณ์ วัณโรค 172/แสนปชก. Success Rate ≥90 รพ.ผ่านการประเมิน QTBC ทุกแห่ง ติดตามผู้ป่วยขาดยา เพื่อไม่ให้เกิดผู้ป่วยดื้อยา และรักษาผู้ป่วย MDR TB ไม่ให้เกิด XDR TB 297 ราย/แสนปชก.

9 ผลการดำเนินงานที่สำคัญตามองค์ประกอบด้านสุขภาพ
การจัดตั้ง PCU ในเรือนจำ Promotion การจัดกิจกรรมรณรงค์สัปดาห์วัณโรคสากล MDR TB Meeting Prevention การตรวจคัดกรองด้วย CXR ในผู้ป่วย 7 กลุ่มเสี่ยง และสถานสงเคราะห์กุ่มสะแก การรับการตรวจประเมิน QTBC การทำ Case Management โดยกลุ่มสหวิชาชีพในกลุ่มผู้ป่วย MDR – TB ทุกราย Treatment การลงเยี่ยมบ้านในผู้ป่วย Relapse/MDR ทุกราย โดยสสจ. สสอ. และ TB clinic ร่วมกับเครือข่าย ประสานการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยกับรพ.เอกชนผ่านทาง รง. 506 Rehabilitation การประสานงานกับพมจ. จังหวัด และองค์กรศาสนา ในการช่วยเหลือผู้ป่วยด้านเศรษฐกิจ และสังคมจนรักษาหาย

10 ผลสำเร็จของการดำเนินงาน (Out Come)
การค้นหาTB ในกลุ่มเสี่ยง (1-3/2560) การพบผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง (2612) (18) (4) (9435) (2349) (34550) (14352) (2593) (5) (4) (7) (2) (830) (14) อัตราการรักษาสำเร็จผู้ป่วยรายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 1/2560 การลดการใช้จ่ายทางสุขภาพ วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย Normal TB MDR XDR (4) (16) (4) (4) (8) COST: 3, , ,039,770 (54) เร่งรัดค้นหา ตัดวงจรสู่ MDR – TB ประหยัดค่าใช้จ่ายต่อราย 215,796 บาท ติดตามการรักษา MDR – TB ให้รักษาสำเร็จ ประหยัดค่าใช้จ่าย 820,875 บาท (90) ที่มา: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2553

11 ปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินงาน (Key Success)
การดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูง การบริหารจัดการในกลุ่มผู้ป่วยMDR - TB การบูรณาการ Social Care การประสานความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ โรงเรียน อบต.,กำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน ศาสนา พมจ.

12 ตัวชี้วัดวัณโรคปี 2561 ตัวชี้วัด เป้าหมาย
1. จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุกด้วยการ CXR ทุกราย ประชากร 7 กลุ่มเสี่ยง 2. ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลทดสอบความไวต่อยาวัณโรค ผู้ป่วย Relapse 3. ร้อยละของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรค ได้รับยารักษาการติดเชื้อ วัณโรคระยะแฝงตามแนวทางการรักษาวัณโรคเด็กของประเทศไทย 4.ร้อยละผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการตายลดลง ผู้ป่วยวัณโรค 5. อัตราการรักษาวัณโรคสำเร็จร้อยละ 90 ผู้ป่วยวัณโรค 1/2561

13 แผนจังหวัดปี 2561 1.การเร่งรัดการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคใน 6 กลุ่มเสี่ยง 2. การประชุมแลกเปลี่ยนการดำเนินงานเจ้าหน้าที่คลินิกวัณโรคในโรงพยาบาลทุกแห่ง และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ ในการป้องกันการเสียชีวิตและการดื้อยาในผู้ป่วยวัณโรค 3.การพัฒนามาตรฐานคลินิกวัณโรค 4.การเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ป่วยที่กลับมาเป็นซ้ำและผู้ป่วยเสมหะบวกรายใหม่ และการติดตาม กำกับการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา 5. การติดตามการดำเนินงานในคลินิกวัณโรค, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลทุกแห่ง 6. การติดตามระบบการดำเนินงานควบคุมกำกับการกินยาของผู้ป่วยดื้อยาในคลินิกวัณโรค, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลทุกแห่ง 7. การสื่อสารความเสี่ยงเกี่ยววัณโรคในชุมชน 8. อบรมแกนนำหมู่บ้านในการจัดการผู้ป่วยวัณโรค 9.อบรมฟื้นฟูแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค 10. การจัดการวัณโรคในชายแดนติดต่อระหว่างประเทศ 11. การบริการรถเอ๊กซเรย์เคลื่อนที่ในอำเภอเสี่ยง


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google