งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองถลาง คุรุศาสตร์บัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

2 หน่วยที่ ๒ ภาวะผู้นำทางวิชาการ
รายวิชาที่ ๒.๓ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและการวัดและประเมินผลหลักสูตร การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

3 ๑. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
องค์ประกอบที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑.๑ การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้ของผู้เรียน ๑) การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่มีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างชัดเจน ๒) การกำหนดแผนยุทธศาสตร์สอดคล้องกับเป้าหมาย ๓) การกำหนดแผนการดำเนินงานในทุกองค์ประกอบ ๔) การจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน ๕) การจัดทำรายงานประจำปีเพื่อรายงานผู้เกี่ยวข้อง ๑) การเรียนรู้เป็นงานเฉพาะบุคคลทำแทนกันไม่ได้ ๒) การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่ต้องมีการใช้กระบวนการคิด สร้าง ความเข้าใจ ความหมายของสิ่งต่างๆ ๓) การเรียนรู้เป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ๔) การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม ๕) การเรียนรู้เป็นงานต่อเนื่องตลอดชีวิต ๖) การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงเพราะได้รู้มากขึ้นทำให้เกิดการนำความรู้ไปใช้ ๑) การเรียนรู้อย่างมีความสุข อันเนื่องมาจากการจัดการเรียนรู้ที่คำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล ๒) การเรียนรู้จากการคิดและลงมือปฏิบัติจริง ๓) การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น ๔) การจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน ๕) การเรียนรู้แบบองค์รวม บูรณาการเป็นการเรียนรู้ที่ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ ๖) การเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ตนเอง การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

4 ๑. กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
แนวทางและบทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑.๒ ๑) ครูเป็นโค้ช ๒) เน้นตั้งคำถาม-ถามตอบ ๓) ไม่ต้องอายที่จะบอว่า “ไม่รู้” ๔) สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียน ๕) ให้ Feedback กับนักเรียน ๖) สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

5 ๒. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญใน“ศตวรรษที่ ๒๑”
การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

6 ๓. การจัดการเรียนการสอน “Active Learning”
การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

7 ปิรามิดการเรียนรู้ (Learning Pyramid)
การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

8 การวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง
๔. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง ๔.๑ ๑) เน้นการประเมินที่ดำเนินการไปพร้อมๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ซึ่งสามารถทำได้ตลอดเวลา ทุกสภาพการณ์ ๒) เน้นการประเมินที่ยึดพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนจริงๆ ๓) เน้นการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน ๔) ใช้ข้อมูลที่หลากหลาย ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและสอดคล้องกับ วิธีการประเมินตลอดจนจุดประสงค์ในการประเมิน ๕) เน้นคุณภาพผลงานของผู้เรียนที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ ความสามารถหลายๆ ด้าน ๖) การประเมินด้านความคิด เน้นความคิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ ๗) เน้นให้ผู้เรียนประเมินตนเอง และการมีส่วนร่วมในการประเมินของ ผู้เรียนผู้ปกครองและผู้สอน การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

9 วิธีการและเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๔. การวัดและประเมินผล วิธีการและเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔.๒ ๑) ศึกษาวัตถุประสงค์ของการประเมิน ๒) กำหนดเครื่องมือในการประเมิน เช่น การบันทึกข้อมูล แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แฟ้มสะสมงาน แบบทดสอบ การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

10 ๔. การวัดและประเมินผล การนำแนวคิดการประเมินผลผู้เรียนผู้เรียนตามสภาพจริง ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ๔.๓ ๑) ก่อนนำไปใช้ ผู้สอนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการประเมินตามสภาพจริง ที่สำคัญที่สุด คือ การศึกษาด้วยตนเองและลงมือปฏิบัติจริง พัฒนาความรู้จากการลงมือปฏิบัติ ๒) การแนะนำให้ผู้เรียนจัดทำแฟ้มสะสมงาน แฟ้มสะสมงานของผู้เรียน นอกจากจะแสดงพัฒนาการของผู้เรียนแล้ว ยังเป็นการสะท้อนการสอนของผู้สอน เพื่อจะนำไปปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป A B+ B C+ C D+ D F การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

11 สิ้นสุดการนำเสนอ ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google