งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 5. องค์ประกอบในการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 6. ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 7. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 8. การปรับปรุงผลงาน

2 จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ
ข้าราชการ คน พนักงานมหาวิทยาลัย คน พนักงานราชการ ลูกจ้าง รวมทั้งสิ้น คน มีคุณสมบัติขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น คน (40.68%) คุณสมบัติยังไม่ครบ คน (59.32%)

3 จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ
จำแนกตามหน่วยงาน กก. 11 / 35 กค. 20 / 32 กบ. 9 / 22กพ. 18 / 20 กผ. 6 / 22 กบน. 10 / 22 กบส. 8 / 21 กบว. 6 / 23 สคศ. 5 / 6ตสน. 3 / 5 สวท. 9 / 23 สวส. 21 / 48 สวพ. 6 / 10 คอ. 2 / 13 ทอ. 4 / 12 บท. 5 / 25 วท. 4 / 11 วส. 4 / 17 ศศ. 4 / 13 รวมทั้งสิ้น 155 / 381 คน

4 จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ
ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน คน ชำนาญงาน – ชำนาญงานพิเศษ คน ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ คน ชำนาญการ – ชำนาญการพิเศษ คน ชำนาญการพิเศษ – เชี่ยวชาญ คน รวมทั้งสิ้น คน

5 ความก้าวหน้าของบุคลากรใน มหาวิทยาลัย เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คุณภาพของ มหาวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้น

6 ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ปีงบประมาณ 2560
ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่ได้รับการ พัฒนาด้านวิชาการ/ ภาษา / IT /เทคโนโลยีสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอน (ร้อยละ 60) ใน 1 ปี สายวิชาการ ต้องอบรม ภาษาอังกฤษ 30 ชม. วิชาชีพ 40 ช.ม. สายสนับสนุน ภาษาอังกฤษ 20 ชม. วิชาชีพ 30 ช.ม. ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่มี ความก้าวหน้าในอาชีพ (ร้อยละ 15)

7 เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน
สายวิชาชีพ - ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน – ชำนาญ งานพิเศษ (3,500) - ประเภทวิชาชีพเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ (3,500) – ชำนาญการพิเศษ (5,600) – เชี่ยวชาญ (9,900) – เชี่ยวชาญพิเศษ (13,000) - ประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ– ชำนาญการ พิเศษ (3,500) – เชี่ยวชาญ (9,900) – เชี่ยวชาญพิเศษ (13,000)

8 เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน
สายบริหาร - หัวหน้างาน ชำนาญการ – ชำนาญการพิเศษ – เชี่ยวชาญ หัวหน้าสำนักงานคณบดี / ผู้อำนวยการกอง - ชำนาญการ 7 ปี / ชำนาญการพิเศษ 3 ปี และ - หน.งาน มากกว่า 1 งาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี / หน.งาน 1 งาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี + รก.หน.งานอื่น รวมกันไม่น้อยกว่า 1 ปี และ - ผ่านการอบรมและมีเงินเดือนตามเกณฑ์

9 เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน
สายบริหาร - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี - ผอ.กอง ไม่น้อยกว่า 1 ปี / ปฏิบัติหน้าที่ ผอ.กอง + ชำนาญการพิเศษ รวมกันไม่น้อยกว่า 4 ปี / ชำนาญ การพิเศษ >4 ปี / เชี่ยวชาญ และ - ผอ. มากกว่า 1 หน่วยงาน 1 ปี และ - ผ่านการอบรมและมีเงินเดือนตามเกณฑ์

10 องค์ประกอบของ คณะกรรมการประเมินค่างาน
รองอธิการบดี ประธาน ผู้เชี่ยวชาญในงาน 2 คน กรรมการ ผู้บังคับบัญชาโดยตรง กรรมการ ผอ.กบ. กรรมการและเลขานุการ กำลังประเมินค่างาน 74 / 155

11 ขั้นตอนการประเมินค่างาน
1. บุคลากรนำเสนองานที่จะให้ประเมิน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินค่างาน 3. นำเสนอ กบม. เพื่อให้ความเห็นชอบ 4. นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ 5. ประกาศรับสมัคร (ดูปฎิทินกำหนดขั้นตอนการประเมินค่างาน)

12 เกณฑ์ในการประเมินค่างาน
ปกติ ชำนาญงาน/การ ชำนาญงาน/การพิเศษ หน.งาน ชำนาญการ - เชี่ยวชาญ (ถ้าสูงกว่านี้ ไม่ใช่เกณฑ์นี้) หน้าที่และความรับผิดชอบ ความยุ่งยากของงาน การกำกับตรวจสอบ การตัดสินใจ ถ้าประเมินในตำแหน่ง หน.งาน + การบริหารจัดการ ปกติ ชำนาญงาน/การ 64 – 83 ชำนาญงาน/การพิเศษ 84 หน.งาน ชำนาญการ 60 – 69 ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ > 80

13 ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรง ตำแหน่งสูงขึ้น
ต้องเป็นตำแหน่งที่ได้ประเมินค่างานแล้ว โดยการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ในตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ต้องประเมินตามองค์ประกอบต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ 2. ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งที่จะประเมิน 3. ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ 4. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 5. การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการ วิชาการหรือวิชาชีพบริการต่อสังคม (เฉพาะเชี่ยวชาญและเชี่ยวชาญพิเศษ)

14 องค์ประกอบของ คณะกรรมการ
- คณะกรรมการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น รองอธิการบดี ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก 4 คน กรรมการ ผอ.กบ. เลขานุการ

15 องค์ประกอบในการแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
รายการประเมิน เกณฑ์ผ่าน ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 2. ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งที่จะประเมิน 3. ผลงาน วิธีปกติ = ดี วิธีพิเศษ = ดีมาก วิธีปกติ = มีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง วิธีพิเศษ = มีคุณสมบัติแตกต่างจากมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

16 ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ ได้แก่ 1. คู่มือปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 เล่ม และ 2. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรืองานวิจัยซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานในหน้าที่อย่างน้อย 1 เรื่อง ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของหน่วยงานอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย หรือผลงานลักษณะอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ

17 ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือผลงานลักษณะอื่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือผลงานลักษณะอื่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ

18 ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
โดยผลงาน 1) ต้องไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาและการฝึกอบรม 2) ไม่ใช่ผลงานเดิมที่เคยใช้ประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งมาแล้ว 3) กรณีที่เป็นผลงานร่วมต้องระบุการมีส่วนร่วมและมีคำรับรองจากผู้มีส่วนร่วม

19 จริยธรรมและจรรยาบรรณทาง วิชาชีพ
1. ความซื่อสัตย์ทางวิชาชีพ (ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ไม่นำผลงานในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่มากกว่าหนึ่งฉบับ) หากนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ให้ดำเนินการทางวินัย และห้ามเสนอขอตำแหน่งไม่น้อยกว่า 5 ปี ถ้าทราบภายหลังให้ถอดถอน 2. ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในผลงานของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้า 3. ไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาชีพ จนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น 4. ผลงานต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาชีพเป็นเกณฑ์

20 การปรับปรุงผลงาน ในกรณีที่คณะกรรมการมีมติให้ปรับปรุงผลงาน (ไม่ใช่ทำ/ส่งผลงานชิ้นใหม่) ต้องปรับปรุงให้เสร็จภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่ได้รับทราบมติ ยกเว้นกรณีมีเหตุผลความจำเป็นอาจขยายเวลาได้อีกไม่เกิน 3 เดือน วันที่แต่งตั้งต้องเป็นวันที่ได้รับผลงานฉบับสมบูรณ์ กรณีผลงานไม่อยู่ในเกณฑ์ สามารถขอให้ทบทวนได้ไม่เกิน 2 ครั้ง


ดาวน์โหลด ppt หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google