งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การค้าชายแดน และการค้าผ่านแดน กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ

2 สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 130,235 80,087 50,148 128,787 77,885 50,902 มาเลเซีย 60,952 55,078 5,874 64,043 55,063 8,980 ไทย 56,499 40,349 16,150 59,320 44,348 14,972 อินโดนีเซีย 41,831 53,823 - 11,992 40,631 54,031 -13,400 เวียดนาม 17,446 20,875 - 3,429 18,179 21,353 -3,174 ฟิลิปปินส์ 9,804 14,954 - 5,150 8,615 14,171 -5,556 พม่า 2,639 2,879 -240 5,625 4,244 1,381 บรูไน 1,737 1,603 134 2,644 1,844 800 กัมพูชา 1,170 1,167 3 1,301 2,818 -1,517 ลาว 990 4,152 -3,162 1,234 2,495 -1,261 รวม 323,306 274,968 48,338 330,379 278,253 52,126 ที่มา : สำนักงานเลขาธิการ ASEANรอาเซียน

3 สถิติการใช้สิทธิพิเศษทางการค้าของไทยกับอาเซียน
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก ใช้สิทธิ สัดส่วน(%) มาเลเซีย 12,425 2,860 23.02 13,015 3,514 27.00 สิงคโปร์ 10,836 395 3.64 11,236 417 3.71 อินโดนีเซีย 11,209 6,056 54.03 10,873 7,079 65.11 เวียดนาม 6,483 2,749 42.40 7,182 3,679 51.22 ฟิลิปปินส์ 4,861 2,361 48.57 5,042 2,977 59.04 กัมพูชา 3,778 137 3.63 4,256 225 5.29 ลาว 3,588 131 3.65 3,758 142 3.78 พม่า 3,127 85 2.72 3,789 256 6.76 บรูไน 191 20 10.47 166 19 11.44 อาเซี่ยน 56,499 14,794 26.18 59,318 18,310 30.87 ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ , กรมศุลกากร

4 สถิติการค้าระหว่างประเทศของไทย สถิติการค้าชายแดนของไทย

5 สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 987,572 ล้านบาท
สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยปี มูลค่า 987,572 ล้านบาท กัมพูชา 11.59% ลาว % มาเลเซีย 51.40% เมียนมา 21.71%

6 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย
สถิติการค้าระหว่างไทย-มาเลซีย สถิติการค้าชายแดนไทย - มาเลเซีย ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

7 สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยกับมาเลเซีย(รายจังหวัด) ปี 2557 มูลค่า 507,655.46 ล้านบาท

8 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-เมียนมา
สถิติการค้าระหว่างไทย-เมียนมา สถิติการค้าชายแดนไทย - เมียนมา ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

9 สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับเมียนมา(รายจังหวัด)ปี 2557
มูลค่า 214, ล้านบาท

10 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว
สถิติการค้าระหว่างไทย-สปป.ลาว สถิติการค้าชายแดนไทย – สปป.ลาว ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

11 สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับสปป.ลาว(รายจังหวัด) ปี 2557
มูลค่า 151, ล้านบาท

12 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา
สถิติการค้าระหว่างไทย-กัมพูชา สถิติการค้าชายแดนไทย - กัมพูชา ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

13 สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา (รายจังหวัด) ปี 2557
มูลค่า 114, ล้านบาท

14 สัดส่วนการค้าผ่านแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 155,533.37 ล้านบาท
สัดส่วนการค้าผ่านแดนของไทยปี มูลค่า 155, ล้านบาท

15 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-จีน
สถิติการค้าระหว่างไทย-จีน สถิติการค้าผ่านแดนไทย - จีน ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

16 สัดส่วนการค้าชายแดนไทย – จีน(รายจังหวัด) ปี 2557
มูลค่า 45, ล้านบาท

17 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม
สถิติการค้าระหว่างไทย-เวียดนาม สถิติการค้าชายแดนไทย - เวียดนาม ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

18 มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย - เวียดนาม (รายจังหวัด) ปี 2557 รวมทั้งหมด 47,141.06 ล้านบาท

19 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-สิงคโปร์
สถิติการค้าระหว่างไทย-สิงคโปร์ สถิติการค้าชายแดนไทย - สิงคโปร์ ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

20 มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย- สิงคโปร์ (รายจังหวัด) ปี 2557 รวมทั้งหมด 63,174.02 ล้านบาท

21 คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน
(คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๖๕ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘) องค์ประกอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ รองประธานกรรมการ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กรรมการ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ อธิบดีกรมการค้าภายใน อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งกับการค้าชายแดน การค้าผ่านแดน และการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้านทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จำนวน ๒๑ หน่วยงาน รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ (รองอดุลย์ โชตินิสากรณ์) กรรมการและเลขานุการ รองอธิบดีกรมศุลกากร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

22 คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน
(คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๖๕ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘) อำนาจหน้าที่ ๑. กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางการดำเนินการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการค้าชายแดน และการลงทุน กับประเทศ เพื่อนบ้าน ๒. พิจารณา ทบทวนกฎหมาย และระเบียบปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ติดตามผลการดำเนินงานของส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ๔. ส่งเสริมสนับสนุนภาคเอกชนและภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการค้าการลงทุนและขยายการค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น ๕. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงานเพื่อช่วยเหลือการปฎิบัติงานได้ตามความเหมาะสม ๖. เชิญเจ้าหน้าที่ บุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และความเห็น รวมทั้งส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้องมาเพื่อประกอบการพิจารณาได้ตามความจำเป็น

23 คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน
โครงสร้างการบริหารยุทธศาสตร์การค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันของไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมการลงทุน ในประเทศเพื่อนบ้าน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเร่งรัดการแก้ไขปัญหาและใช้ ประโยชน์จากความร่วมมือในอนุภูมิภาค ภารกิจที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบริเวณชายแดนเพื่อสนับสนุนการค้า การลงทุน และโลจิสติก 7 โครงการ ภารกิจที่ 1 การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ 6 โครงการ ภารกิจที่ 1 การเชื่อมโยง ฐานการผลิตระหว่างไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน ภารกิจที่ 1 การเจรจาในระดับทวิภาคี ภารกิจที่ 2 เจรจาในระดับ อนุภูมิภาค ภูมิภาค และระดับพหุภาคี ภารกิจที่ 2 การแสวงหา แหล่งวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน ภารกิจที่ 2 การพัฒนาด้านการตลาดเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการไทยสามารถเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนมากขึ้น 2 โครงการ ภารกิจที่ 2 การพัฒนาระสิทธิภาพบุคลากรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน 3 โครงการ ภารกิจที่ 3 การพัฒนากฎ/ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการค้า การลงทุนชายแดน 5 โครงการ ภารกิจที่ 3 การส่งเสริมผู้ประกอบการเข้าไปลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเพื่อนบ้าน ภารกิจที่ 3 การพัฒนานวัตกรรมทางการค้าเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน 2 โครงการ ภารกิจที่ 4 การส่งเสริมธุรกิจบริการของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน 5 โครงการ ภารกิจที่ 4 การพัฒนานวัตกรรมทางการค้าเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าของ ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน 2 โครงการ

24 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 5 พื้นที่ ระยะที่ 1
ผลการประชุม กนพ. ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 ก.ค. 2557 ผลการประชุม กนพ. ครั้งที่ 2/2557 วันที่ 17 พ.ย. 2557 เห็นชอบขอบเขตพื้นที่เป้าหมายจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก 5 พื้นที่ จังหวัด อำเภอ ตำบล พื้นที่ ตาก อ.แม่สอด อ.พบพระ อ.แม่ระมาด 14 1, ตร.กม. 886,875 ไร่ สระแก้ว อ.อรัญประเทศ อ.วัฒนานคร 4 ตร.กม. 207,500 ไร่ ตราด อ.คลองใหญ่ 3 50.2 ตร.กม. 31,375 ไร่ มุกดาหาร อ.เมือง อ.หว้านใหญ่ อ.ดอนตาล 11 ตร.กม. 361,542 ไร่ สงขลา อ.สะเดา ตร.กม. 345,187 ไร่

25 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2
ตามประกาศ กนพ. ทื่ 2/2558 ลงวันที่ 24 เม.ย 58 เรื่อง กำหนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 ผลการประชุม กนพ. 2/2558 วันที่ 16 มี.ค. 58 เห็นชอบขอบเขตพื้นที่เป้าหมายการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 ใน 5 พื้นที่ ใน 5 พื้นที่ ชายแดนเป้าหมาย รวม 54 ตำบล 13 อำเภอ ดังนี้ (1) จ.หนองคาย อำเภอเมือง สระใคร (2) จ.กาญจนบุรี อำเภอเมือง (3) จ.เชียงราย อำเภอแม่สาย เชียงแสน เชียงของ (4) จ.นครพนม อำเภอเมือง ท่าอุเทน (5) จ.นราธิวาส อำเภอเมือง สุไหง-โกลก ตากใบ แว้ง ยี่งอ จังหวัด อำเภอ ตำบล พื้นที่ หนองคาย เมือง สระใคร 13 ตร.กม. 296,042 ไร่ นราธิวาส เมือง ตากใบ สุไหง-โกลก แว้ง ยี่งอ 5 ตร.กม. 246,747 ไร่ เชียงราย แม่สาย เชียงแสน เชียงของ 21 ตร.กม. 477,030 ไร่ นครพนม ท่าอุเทน ตร.กม. 465,493ไร่ กาญจนบุรี 2 ตร.กม. 162,993 ไร่

26 สถิติการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ปี 2557
หน่วย : ล้านบาท จังหวัด การค้าชายแดน การค้าผ่านแดน รวมการค้าชายแดนและผ่านแดน ส่งออก นำเข้า รวม ดุลการค้า สงขลา 270,396 230,829 25,344 37,829 564,398 295,740 268,685 27,055 กาญจนบุรี 1,431 115,122 - 116,553 -113,690 สระแก้ว 59,508 15,263 470 12 75,253 59,978 15,275 44,7003 นครพนม 4,205 219 21,401 42,816 68,641 25,606 43,035 -17,429 ตาก 59,839 2,682 62,521 57,156 หนองคาย 58,631 1,497 60,128 57,133 มุกดาหาร 16,771 22,553 10,738 844 49,218 27,509 21,709 4,112 เชียงราย 26,663 643 9,839 5,568 42,713 36,502 6,211 30,291 ตราด 27,555 2,081 29,636 15,474 นราธิวาส 1,069 2,036 3,105 -967 466,560 392,925 67,792 87,069 1,072,193 593,860 478,333 115,527 ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ

27 คณะอนุกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์
(คำสั่งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ ๒ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘) องค์ประกอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานอนุกรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ รองประธานกรรมการ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ อนุกรรมการ อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการหอการค้าไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสมาคมธนาคารไทย ผู้แทนกรมการค้าต่างประเทศ (รองอธิบดีอดุลย์ โชตินิสากรณ์) อนุกรรมการและเลขานุการ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์

28 คณะอนุกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์
(คำสั่งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ ๒ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘) อำนาจหน้าที่ ๑. พิจารณาให้ข้อเสนอแนะทางการตลาดที่สนับสนุนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ๒. ดำเนินการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ จัดสัมมนา เพื่อเชิญชวนนักลงทุนในประเทศและต่างประเทศให้เข้ามาลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและจัดทำข้อมูลการประชาสัมพันธ์และคู่มือสำหรับนักลงทุน ๓. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อช่วยเหลือการปฎิบัติงานได้ตามความเหมาะสม ๔. ปฎิบัติภารกิจอื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมอบหมาย ๕. รายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมอบหมาย

29 แผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
รูปแบบกิจกรรม / รายละเอียด ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณดำเนินการ ปี 2558 ปี 2559 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม รายละเอียด (บาท) 1. แผนการตลาด 1.1 Road Show ต่างประเทศ (1) เชิญชวนนักลงทุน/ผู้สนใจระหว่างการเดินทางเยือนต่างประเทศของนรม./รมต. พณ. ทุกหน่วยงาน แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบจัดสรรงบประมาณ (2) การจัดบูธประชาสัมพันธ์ SEZ ในงานแสดงสินค้าไทยในต่างประเทศที่จัดโดยหน่วยงานต่างๆ พณ./BOI 1.2 จัดเสวนาเรื่องการพัฒนา SEZ แก่ผู้สื่อข่าว และหอการค้าต่างประเทศ พร้อมเอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย (Dinner Talk) ทุกหน่วยงาน สศช. กนอ./BOI/กค./มท. สถานที่ + อาหาร + จัด Layout + อื่นๆ (จำนวน ~ 200 ท่าน) = 150, , , ,000 บาท 1,040,000 1.3 การจัดเสวนาเรื่องการพัฒนา SEZ แก่ภาคเอกชน/นักลงทุนไทยในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด สศช. กนอ./BOI/กค./มท. สถานที่ + อาหาร + จัด Layout + อื่นๆ (จำนวน ~ 250 ท่าน) = 150, , , ,000 บาท 1,070,000 1. เสวนาเรื่อง SEZ 2. บูธประชาสัมพันธ์ข้อมูล SEZ ภาษาอังกฤษ 1. เสวนาเรื่อง SEZ ในมุมมองนักลงทุน 2. จัดนิทรรศการ SEZ

30 แผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
รูปแบบกิจกรรม / รายละเอียด ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณดำเนินการ ปี 2558 ปี 2559 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม รายละเอียด (บาท) 2. แผนการประชาสัมพันธ์ โดยการผลิตและเผยแพร่สื่อโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ ดังนี้ 2.1 สื่อวิทยุ (ไทย/อังกฤษ) การจัดทำ Spot วิทยุ ไม่น้อยกว่า 30 วินาที BOI กรมประชา สัมพันธ์ ผลิตไม่น้อยกว่า 20 ครั้ง 2. เผยแพร่ไม่น้อยกว่า 100 ครั้ง 200,000 360,000 2.2 สื่อโทรทัศน์ (1) Vision Talk ผ่านรายการเดินหน้าประเทศไทย (2) ตัวอักษรวิ่งผ่านช่อง Free TV (3) รายการ "อนาคตประเทศไทย" ทางช่อง 11 (4) สารคดีเชิงข่าวไม่น้อยกว่า 3 นาที ทางช่อง 11 (5) Spot ประชาสัมพันธ์ ไม่น้อยกว่า 30 วินาที ผ่าน Free TV พณ. สศช. สศช./มท./กค./กรม ปชส. กรม ปชส. เผยแพร่ไม่น้อยกว่า 100 ครั้ง สัมภาษณ์ไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง ผลิต และเผยแพร่ไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง 500,000 1,000,000 1,200,000 2,000,000

31 แผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
รูปแบบกิจกรรม / รายละเอียด ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณดำเนินการ ปี 2558 ปี 2559 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม รายละเอียด (บาท) 2. แผนการประชาสัมพันธ์ โดยการผลิตและเผยแพร่สื่อโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ ดังนี้ 2.1 สื่อวิทยุ (ไทย/อังกฤษ) การจัดทำ Spot วิทยุ ไม่น้อย กว่า 30 วินาที BOI กรมประชา สัมพันธ์ ผลิตไม่น้อยกว่า 20 ครั้ง 2. เผยแพร่ไม่น้อยกว่า 100 ครั้ง 200,000 360,000 2.2 สื่อโทรทัศน์ (1) Vision Talk ผ่านรายการเดินหน้าประเทศไทย (2) ตัวอักษรวิ่งผ่านช่อง Free TV (3) รายการ "อนาคตประเทศไทย" ทางช่อง 11 (4) สารคดีเชิงข่าวไม่น้อยกว่า 3 นาที ทางช่อง 11 (5) Spot ประชาสัมพันธ์ ไม่น้อยกว่า 30 วินาที ผ่าน Free TV พณ. สศช. สศช./มท./กค./กรม ปชส. กรม ปชส. เผยแพร่ไม่น้อยกว่า 100 ครั้ง สัมภาษณ์ไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง ผลิต และเผยแพร่ไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง 500,000 1,000,000 1,200,000 2,000,000

32 แผนการตลาดและประชาสัมพันธ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
รูปแบบกิจกรรม / รายละเอียด ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณดำเนินการ ปี 2558 ปี 2559 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม รายละเอียด (บาท) 2. แผนการประชาสัมพันธ์ 2.4 Website / Social Media / Mobile Application BOI/ทก. ทุกหน่วยงาน ออกแบบ+จัดทำ SEZ Website รวมทั้ง Software และ Hardware 5,000,000 2.5 ป้ายประชาสัมพันธ์ ติดตั้งบริเวณ Motorway ชลบุรี / ทางด่วนสนามบินสุวรรณภูมิ - พระราม 9 / เส้นทางสายบางนา / เส้นทางสายวิภาวดีรังสิต พณ. ออกแบบ+ผลิต+เผยแพร่ ครั้งละ 1 เดือน ไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง 2.6 การจัดทำบูธประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ (Mobile Unit) ขนาดพื้นที่ไม่น้อยกว่า 6x3 เมตร ประกอบด้วย Pop up / Counter Stand / Light Box Stand / Roll up / Brochure Stand / โต๊ะ / เก้าอี้ จำนวน ไม่น้อกว่า 10 ชุด 500,000 วงเงินรวมสำหรับโครงการแผนปฏิบัติการด้านการตลาดและประชัสมพันธ์ ปี 2558 (ก.ค. - ธ.ค.) 27,620,000


ดาวน์โหลด ppt สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google