งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่ ดร.ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

2 กระบวนการพัฒนาด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

3 กำหนดกิจกรรมสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

4 ง่ายๆ = งานที่ใครๆ ก็ทำ
ค่ากลางฯ = Medium Eng. = Norm (มาจาก Mode) Thai = บรรทัดฐาน = ค่ากลางที่คาดหวัง ง่ายๆ = งานที่ใครๆ ก็ทำ

5 กระบวนการยกระดับโครงการสุขภาพด้วยตนเอง

6 ค่ากลางฯ ไม่ใช่ งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ
ค่ากลางฯ ไม่ใช่ งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ เป็น... งานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (ระดับกลาง) ได้ทำแล้วประสบความสำเร็จ คือ ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) แต่ไม่ทำให้... บรรลุผลเชิงปริมาณ หรือตัวชี้วัดของกระทรวง

7 ประเภทของค่ากลาง ค่ากลางที่คาดหวังสำหรับแผนงาน/โครงการเรื่อง.....
ค่ากลางความสำเร็จสำหรับแผนงาน/โครงการเรื่อง...

8 การสร้างค่ากลางเชียงใหม่

9 ค้นหาค่ากลางฯ รวบรวมและเรียงลำดับ คัดเลือกค่ากลางฯ การนำไปใช้
-จนท./อสม.+กองทุนฯ -เลือกพื้นที่เข้มแข็งระดับ กลาง รวบรวมและเรียงลำดับ -งาน สช. รวบรวม -เรียงงานตามความถี่ คัดเลือกค่ากลางฯ -กลุ่มงานเกี่ยวข้องคัดเลือก -เน้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การนำไปใช้ -สำรวจฯ ก่อนใช้-พัฒนา -สำรวจฯ หลังใช้-ปรับ ประกาศค่ากลางฯ -เวทีประกาศค่ากลางฯ -รับทราบทั้ง 3 ท้อง ผู้บริหารเห็นชอบ -นำเสนอผู้บริหาร -ผู้บริหารลงนาม

10 1. ค้นหาค่ากลางฯ - ดำเนินการระดับจังหวัด เลือกพื้นที่ (ความเข้มแข็ง) ระดับกลาง ร้อยละ 20 - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต. 1 รอบ และ อสม. รวมกับกรรมการกองทุนฯ 1 รอบ - เลือกประเด็นที่เป็นปัญหาของพื้นที่เป็นลำดับแรก - ปีหลังๆ ใช้การสำรวจ แบบเจาะจง

11 การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การจัดการกลุ่มเป้าหมาย การสร้างระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองโดยประชาชน การดำเนินมาตรการทางสังคม การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปรับปรุงแผนงาน/โครงการท้องถิ่น/ตำบล การจัดการสภาวะแวดล้อม แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

12 2. รวบรวมและเรียงลำดับ

13 การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ
ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ 100 % กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของโครงการ ได้แก่งานที่ 65 50 งาน การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด (ข) วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ (ค) เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไปหามาก

14 3. คัดเลือกค่ากลางฯ

15

16 การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การจัดการกลุ่มเป้าหมาย การสร้างระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองโดยประชาชน การดำเนินมาตรการทางสังคม การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปรับปรุงแผนงาน/โครงการท้องถิ่น/ตำบล การจัดการสภาวะแวดล้อม แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน

17 4. ผู้บริหารเห็นชอบ

18 5. ประกาศค่ากลางฯ ครั้งที่ สิงหาคม 2554 ครั้งที่ มีนาคม 2557

19 การประเมินศักยภาพชุมชน
6. การนำไปใช้ การประเมินศักยภาพชุมชน

20 การสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลาง

21 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม
ระดับ 1  พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 1 งาน หรือไม่ได้ทำ ระดับ 2  พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง 2 ถึง 3 งาน ระดับ 3  พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 4 งานขึ้นไป หรือทุกงาน

22 เกณฑ์การประเมิน (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินภาพรวม ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ 2 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ 3 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วทั้ง 6 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็นระดับ 3

23 ระดับ 4  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช.

24 ระดับ 4  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช. ระดับ 5  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 4 แล้วเปิดเป็น รน.สช. รวมทั้งมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (เกิดกล่องสุดท้ายของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่างน้อยร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด หรือเป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/โครงการที่บูรณาการร่วมกัน เช่น โครงการคัดกรองโรคที่บูรณาการร่วมกันทั้งการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออก อาหารปลอดภัย ฯลฯ

25 ตารางช่วยประเมินศักยภาพแผนงาน/โครงการ
พื้นที่ กิจกรรมสำคัญ ระดับรายกิจกรรม มีนวัต กรรม เปิด รน.สช. ระดับภาพรวม 1 2 3 4 5 6 พื้นที่ ก. - พื้นที่ ข. พื้นที่ ค. พื้นที่ ง. พื้นที่ จ. พื้นที่ ฉ.

26 DM+HT FS

27 การพัฒนาหลังจากมีการกำหนด
ค่ากลางของจังหวัด

28 ค้นหานวัตกรรมสุขภาพชุมชน

29 นวัตกรรมสุขภาพชุมชนตำบลเชิงดอย
นวัตกรรม: อผส. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย นวัตกรรม: อสม. เจาะเลือดปลายนิ้วใกล้บ้านใกล้ใจ นวัตกรรม: รำวงย้อนยุค

30 การประเมินตนเองเพื่อเตรียมเปิด รน.สช.

31 พัฒนาสู่ความยั่งยืน

32 โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ปรัชญา รน.สช. เป็นการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพชุมชน ให้สามารถประยุกต์ประสบการณ์และความสำเร็จในการดำเนินงานจัดการสุขภาพ ไปใช้ในพื้นที่ของตนได้อย่างเหมาะสม ก่อนให้เกิดการจัดการสุขภาพในพื้นที่ของตนเองได้อย่างยั่งยืน

33 การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน 56 แห่ง - School without Wall ของชุมชน - เวทีแสดงออกของทีมจัดการสุขภาพชุมชน - ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - มีมาตรการชุมชน/นวัตกรรมฯ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามประสบการณ์

34 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google