งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ญาณวิทยา(Epistemology) : ทฤษฏีความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ญาณวิทยา(Epistemology) : ทฤษฏีความรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ญาณวิทยา(Epistemology) : ทฤษฏีความรู้
เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งมีหน้าที่ในการ ตอบคำถาม และ หาความหมายเกี่ยวกับ ความรู้ด้านต่าง ๆ

2 มนุษย์มีความรู้ได้เพราะ “รู้จักคิด”
วิธีได้ความรู้ 1. รู้ทางผัสสะ : อายตนะ 2. รู้โดยสามัญสำนึก, ความรู้สึก 3. รู้โดยตรรกวิธี : เหตุผล 4. รู้โดยญาณหรือหยั่งรู้ : รู้แจ้ง 5. รู้โดยทางวิทยาศาสตร์ : สังเกต ทดลอง

3 ความหมายของการวิจัย การวิจัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยวิธีการ เพื่อให้พบข้อเท็จจริงหรือหลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฏี หรือแนวทางในการปฏิบัติ

4 การวิจัย 3 ประเภท (วิธีการ/ผล)
การวิจัยพื้นฐาน : เป็นการศึกษาค้นคว้า ไม่มุ่งประโยชน์เฉพาะ การวิจัยประยุกต์ : มุ่งประโยชน์เฉพาะ การวิจัยและพัฒนา : มุ่งสู่สิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรืออื่น ๆ ที่ดีกว่าเดิม 1 2 3

5 หัวใจของกลุ่มความคิด ของสิ่งที่มีความหมาย
กรอบแนวคิด ทัศนธาตุ (Element) หลักการ (Principle) สัญลักษณ์ (Symbol) ความรู้สึก (Feeling) อารมณ์ (Emotion) Core แกน Of Meaning คือ หัวใจของกลุ่มความคิด หลายความคิด เป็นแกน (Core) ของสิ่งที่มีความหมาย

6 ตั้งคำถามหลายแบบ หลายแง่มุม
เลือกปรากฏการณ์ ตั้งคำถามหลายแบบ หลายแง่มุม วิธีวิทยา* ระดับการวิเคราะห์ สร้างกรอบแนวคิด “เกิด-ดำรง-สิ้นสุด” ของปรากฏการณ์ เลือกวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ เขียนรายงาน

7 ทัศนศิลป์ คำถามสำคัญ รูปแบบ (Style) เป็นอย่างไร
ประติมานวิทยา (Iconography) เป็นอย่างไร บริบทเกี่ยวกับมิติร่วมสมัย ทางประวิติศาสตร์ (Historical Context) เป็นอย่างไร ทำไมจึงสร้างงานศิลปะ (The work of Art) 1 2 3 4

8 : ช่วยนำไปสู่ เป็นเครื่องมือ ช่วยให้เข้าถึงคุณค่า
ทฤษฎีทางศิลปะ 1 : ช่วยนำไปสู่ เป็นเครื่องมือ ช่วยให้เข้าถึงคุณค่า มีวิธีการ และเกณฑ์อย่างไร 2 แต่ละเกณฑ์ มีคุณค่าต่างกันอย่างไร ช่วยให้เห็นอะไร สิ่งที่เห็นสร้างอย่างไร สะท้อนคุณค่า ด้านใดบ้าง

9 จำแนกแนวคิด ทฤษฎี : รูปแบบการแสดงออก
ทฤษฎีการเลียนแบบ ทฤษฎีนิยมรูปทรง ทฤษฎีนิยมอารมณ์ ทฤษฎีนิยมจินตนาการ 1 2 3 4

10 ทฤษฎีการเลียนแบบ : 1 ความถูกต้องทางการเห็น
ศิลปะคือการเลียนแบบโลกภายนอก เช่น ยุคคลาสสิค , เรียลลิสต์ติก , โรแมนติค ท. -ของแสงและเงา -รูปและพื้น -สี (แม่สีช่างเขียน) ฯลฯ 1

11 ทฤษฎีนิยมรูปทรง : หัวใจสำคัญของทัศนศิลป์ คือ รูปทรงอันบริสุทธ์ (รูปทรงใหม่) กระบวนการทางจิตของศิลปิน เช่น -กลุ่มศิลปะคิวบิสม์ -ฟิวเจอริสม์ ท. -จิตวิเคราะห์ (แม่สีจิตวิทยา) -การรับรู้ ฯลฯ 2

12 ทฤษฎีนิยมอารมณ์ : 3 การแสดงออกสู่ผู้ดู เช่น -เอ็กซเพรสชั่นนิสม์
เช่น -เอ็กซเพรสชั่นนิสม์ -โรแมนติค ท. -การรับรู้ -จิตวิทยาเกสตอลท์ ฯลฯ 3

13 ทฤษฎีนิยมจินตนาการ : 4 แบบอุดมคติ เช่น -ผลงานแนวประเพณี -เซอเรียลิสม์
เช่น -ผลงานแนวประเพณี -เซอเรียลิสม์ ท. -สี (จิตวิทยาสีทางพุทธ) -แนวคิดพุทธ / พราหมณ์ / ผี -สกุลช่าง -ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปิน กับสิ่งประดิษฐ์ ฯลฯ 4

14 ความสัมพันธ์ระหว่างกรอบความคิด กรอบความคิด เฉพาะอย่าง
แนวความคิดอื่น ที่ เกี่ยว ข้อง กรอบความคิด เฉพาะอย่าง ความสัมพันธ์ แนวความคิดอื่น แนวคิดตัวตน * * เช่น * * ทัศนธาตุ หลักการ วิถีไต ความสัมพันธ์ ระบบความคิดตะวันออก ผลงาน อิทธิพล ท.รูปแบบ จิตวิทยาสี-สัญลักษณ์สี กายวิภาค ภูมิทัศน์ หลักการเขียนภาพ วิถีชีวิต

15 การวิจัยทางทัศนศิลป์ : ขั้นตอน
ต้องวิเคราะห์ ตีความ และคุณค่าที่ปรากฎ การรวบรวมข้อมูล ผลงานจริง / ภาพจำลอง (Reproductions) เอกสาร / สื่อ สัมภาษณ์ 1

16 การวิจัยทางทัศนศิลป์ : ขั้นตอน <ต่อ2>
การวิเคราะห์ - ตีความ พิจารณาเทคนิค พิจารณาคุณค่า พิจารณาแนวคิด แนวเรื่อง พิจารณาเหตุผลตามหลัก Subjective และ Objective 2

17 การวิจัยทางทัศนศิลป์ : ขั้นตอน <ต่อ2>
วิเคราะห์ผลงาน องค์ประกอบส่วนใหญ่ : รูปทรง / เนื้อหา องค์ประกอบส่วนย่อย : Element / แนวคิด นำมาตีความ-วิเคราะห์ว่าศิลปิน ต้องการสื่อความหมาย / รู้สึก / อารมณ์ใด

18 การวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ / เข้าใจ ชื่นชม
ผู้วิจัยต้องศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการแสดงของศิลปิน ว่าอยู่กลุ่มใด ทฤษฎีการเลียนแบบ : ธรรมชาติ ทฤษฎีนิยมรูปทรง : มูลฐาน / ลดทอนธรรมชาติ ทฤษฎีนิยมอารมณ์ : รู้สึก / อารมณ์ (Abtract) ทฤษฎีนิยมจินตนาการ : อุดมคติ

19 การประเมิน หรือการตัดสิน
ขั้นตอนการวิเคราะห์ 2 การวิเคราะห์ 1 การพรรณนา 2.1 ความสัมพันธ์ การรับรู้ ความหมาย 2.2 โครงสร้าง : หลักการจัดภาพ 2.3 เทคนิค 2.4 เนื้อหา 2.5 ความรู้สึก 4 การประเมิน หรือการตัดสิน 3 การตีความ

20 การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ / ลัทธิศิลปะ
นิยมศึกษา รูปแบบทางศิลปะ (Art style) โดยนำบริบทร่วมสมัยมากำหนด “คุณค่า” คำถาม คุณค่าของสิ่งนั้นเปลี่ยนแปลงอย่างไร (พุทธศาสนิกชนสร้างรูปเปรียบอดีต  ปัจจุบัน) คุณค่าไม่ได้อยู่ที่ยุคสมัย แต่อยู่ที่.... (มีต่อ ) 1 2

21 การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ / ลัทธิศิลปะ <ต่อ2>
แต่อยู่ที่ การตอบคำถามว่า สร้างทำไม เพราะเหตุใดจึงสร้าง สร้างอย่างไร รูปแบบศิลปะเป็นอย่างไร จะนำไปประยุกต์สร้างอย่างไร 1 2 3 4

22 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ศิลป์
ตรวจสอบผลงานการค้นคว้าสิ่งที่ผู้อื่นทำไว้ ผลงานศิลปะถูกสร้างโดยความตั้งใจในอดีต ข้อมูลในอดีตที่นำมาใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องคัดสรร ผู้วิจัยไม่อยู่ร่วมสมัย ต้องระมัดระวัง กระบวนการวิเคราะห์ต้องตีความ วิพากษ์ วิจารณ์ 1 2 3 4 5

23 ขั้นตอนการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ศิลป์ / ขั้นตอน
1 การรวบรวมข้อมูล การกำหนดอายุโดยวิธีการ ของประวัติศาสตร์ศิลป์ - ความเหมือน / ต่าง / คลี่คลาย : ปรัชญา ศาสนา - เปรียบเทียบกับสิ่งที่ทราบอายุแน่นอน - กำหนดอายุเปรียบเทียบ รูปแบบร่วมสมัย - การจาร / จารึก 3 2 การวิเคราะห์ – ตีความ - แท้ / เลียนแบบ , พิจารณาคุณค่า - พิจารณารูปแบบเทียบเคียง - พิจารณาลักษณะ ทางประติมานวิทยา - ค่านิยม / คติการสร้าง

24 ปรัชญา : ความหมาย ความรู้อันประเสริฐ ซึ่งเกิดจากการ
คิดตรึกตรองอย่างมีเหตุผล เกิดความ เข้าใจแจ่มแจ้งในปัญหาโดยไม่มีข้อสงสัย

25 อภิปรัชญา (Metaphysics) : ทฤษฏีความจริง (Reality)
เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งมีหน้าที่ ตอบคำถาม และ หาความหมายของความจริงแท้ (Ultimate Reality)

26 จิตนิยม สสารนิยม ทวินิยม 1 2 3

27 วิธีวิทยา (Mrthodology) : เกิดจากคำถามการวิจัย วิธีการ (Method)
: คือ วิธีการหาความเชื่อมโยง ระหว่างวิธีคิดสู่กระบวนการ : หมายถึง ปรัชญาของกระบวนการทำวิจัย ประยุกต์ใช้ แนวคิดสู่การรวบรวมข้อมูล เพื่อหาข้อสรุป สามารถตอบคำถามการวิจัยได้ (เชิงปริมาณ-เชิงคุณภาพ) วิธีการ (Method) : หมายถึง เทคนิคหรือวิธีการเก็บข้อมูล (สอบถาม สังเกต สัมภาษณ์ ศึกษาเอกสาร)


ดาวน์โหลด ppt ญาณวิทยา(Epistemology) : ทฤษฏีความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google