งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
1.1 การสอบสวนโรค กรณีพบผู้ป่วย 1 ราย - ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 44 ปี ไม่ได้ตั้งครรภ์ ยืนยันป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า เริ่มป่วย 20 ก.ย.59 รับการรักษาเบื้องต้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนมะค่า และ ส่งรักษาต่อที่ รพ. มหาราช นครราชสีมา -ก่อนป่วยประมาณ 9 วัน ผู้ป่วยเคยเดินทางมาเยี่ยมญาติและพักอาศัยที่ ม. 2 ตำบลบ้านใหม่หนองไทร อรัญประเทศ ระหว่าง 28 ส.ค.-10 ก.ย.59 ( 14 วัน) โดยพักอยู่กับน้องสาว ที่กำลังตั้งครรภ์ 7 เดือน

2 โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ผู้สัมผัสโรค - จำนวน 4 คน ได้แก่ พ่อ แม่ ลูกสาว และแม่ยาย (บ้านที่ผู้ป่วยไปพักอาศัย) โดยผู้เป็นแม่ตั้งครรภ์ได้ 7 เดือน เก็บตัวอย่างเลือด/ปัสสาวะจากหญิงตั้งครรภ์ และอีก 3 คน เก็บเฉพาะปัสสาวะส่งตรวจที่ศูนย์วิทย์ฯชลบุรี รวม 4 ตัวอย่าง ( รอผล Lap)

3 โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สสจ.สระแก้ว CUP อรัญประเทศ และหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 6.2 ดำเนินการควบคุมโรค ดังนี้ 1. ควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์รอบๆบ้านและพ่นสารเคมีกำจัด ยุงตัวเต็มวัย ในรัศมี 100 เมตร และวางแผนทำต่อเนื่อง 6 ครั้ง ในวันที่ และ 28 มุ่งเน้นค่า HI= ภายใน 5 วัน 2. โรงพยาบาลอรัญประเทศ ค้นหาผู้ป่วย PUI ในคลินิก ANC ซักประวัติย้อนหลัง 1 เดือน หากพบให้เก็บตัวอย่างส่งตรวจ และให้ความรู้ในการป้องกันโรค

4 โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
มาตรการในการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสซิก้า 1. รพ.สต./รพ.ทุกแห่ง เฝ้าระวังและคัดกรองผู้ป่วยตามนิยาม โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ หากพบผู้ป่วยสังสัยให้รีบรักษา/ส่งต่อตามศักยภาพ โดยเก็บตัวอย่างส่งตรวจศูนย์วิทย์ฯทุกราย 2. รพ.ทุกแห่ง รายงาน Zero Report ส่งทุกวันศุกร์ น. ทาง และหากพบผู้ป่วยหรือผู้ป่วยสังสัย (PUI) ให้รายงานงานระบาดวิทยา สสจ.สระแก้วทันที ทางโทรศัพท์ , 3. สสอ./รพ.ทุกแห่ง ดำเนินการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์โรค/ยุงตัวแก่ ควบคุมดัชนีลูกน้ำยุงลาย เน้นดูแลกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ไม่ให้ยุงกัดเป็นพิเศษ

5 1.2 งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
1.2 งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การค้นหาผู้ป่วยกล้ามเนื้ออัมพาตอ่อนปวกเปียกแบบเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis : AFP) -เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 2 ต่อแสน ปชก. กลุ่มเด็กต่ำกว่า 15 ปี (จังหวัดสระแก้วเป้าหมาย 2 ราย (ปี 2559 ยังไม่พบผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว) - ขอความร่วมมือจากหน่วยงานของท่านเมื่อตรวจพบกลุ่มอาการ AFP ให้รายงานตามแบบฟอร์ม โดยไม่ต้องรอผลการวินิจฉัยโรค และส่งงานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ


ดาวน์โหลด ppt โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google