งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ทฤษฎีการเรียนรู้ อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

2 ประวัติวิทยากร Certificate of Short Regular program Exchange student ,University of the Ryukyus, JAPAN, (พ.ศ.2550) ศศ.บ.(การจัดการการพัฒนาสังคม) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง วิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ.2550) ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน) วิชาเฉพาะการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ.2554)

3 Learning Pyramid

4

5 การเรียนรู้ หมายถึงอะไร
ราชบัณฑิตยสถาน (2555) ให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นกระบวนการ หรือวิธีการที่บุคคลใช้ในการสร้างความหมายของข้อมูลและสิ่งเร้าต่างๆ ที่รับเข้ามาทางประสาทสัมผัสให้เกิดเป็นความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติ ความรู้สึก และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ซึ่งการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่จากประสบการณ์ และการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ

6

7 กิจกรรมที่ 1 Concept Attainment
ให้แต่ละคนสรุปองค์ความรู้ จากประเด็กหัวข้อที่สุ่มได้รับ

8

9 ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ 3.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม 4. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย 1.ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล 2. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นผลงาน 3. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 4. ทฤษฎีพหุปัญญา 5. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ

10

11 (1) ทฤษฏีการวางเงื่อนไขของวัตสัน

12 สามารถสรุปเป็นกฎการเรียนรู้ตามทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสันได้ดังนี้
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้เป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ 2) พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ใด ๆ สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติอย่างเหมาะสม

13 การนำแนวคิดของทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสันไปประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนรู้สามารถทำได้ดังนี้
1) ผู้สอนควรสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ให้เกิดกับผู้เรียนโดยใช้สิ่งเร้าที่เหมาะสมกับภูมิหลังและความต้องการของผู้เรียน ผู้สอนควรยกย่องชมเชย ให้รางวัล หรือให้เพื่อปรบมือให้ จะช่วยผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะทำให้ดียิ่งขึ้น ผู้สอนควรยกย่องชมเชย ให้รางวัล หรือให้เพื่อปรบมือให้ จะช่วยผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะทำให้ดียิ่งขึ้น ผู้สอนควรปรับวิธีสอนโดยทำให้เข้าใจง่ายขึ้น และให้ความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด เปิดโอกาสให้มาซักถามได้อย่างเป็นกันเอง

14 (2) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกเสนอโดย พาฟลอฟ

15 กฎการเรียนรู้จากทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของของพาฟลอฟ สามารถสรุปได้ดังนี้
1) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้จากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขหรือกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข 2) กฎแห่งการลดภาวะ ความเข้มข้นของการตอบสนองจะลดลงเรื่อย ๆ หากบุคคลได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขอย่างห่างกันออกไปมากขึ้น 3) กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ การตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ลดลง สามารถทำให้เกิดขึ้นได้อีกโดยใช้ สิ่งเร้าตามธรรมชาติ 4) กฎแห่งการถ่ายโยงการเรียนรู้สู่สถานการณ์อื่น กระตุ้นอาจทำให้เกิดการตอบสนองที่เหมือนกันได้ 5) กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง การเรียนรู้จะเกิดจากการจำแนกความแตกต่างและเลือกตอบสนองเฉพาะกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข

16 การให้รางวัล --- การให้สิทธิพิเศษ –
จัดกิจกรรมที่ต่อเนื่องสัมพันธ์ง่ายต่อการเชื่อมโยง สิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไขอย่างเดียวนานเกินไปเพราะจะทำให้พฤติกรรมการตอบสนองลดลงเรื่อยๆ

17 กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) กฎแห่งการใช้และไม่ใช้ (Law of Use and Disuse) กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect)

18 สามารถการนำแนวคิดของทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้อย่างไร
สร้างความพร้อม – ฝึกบ่อย—เปิดโอกาสเรียนรู้—สถานการณ์ใหม่--ได้รางวัล

19 สิ่งที่ก่อให้เกิดขึ้นก่อน
(4) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ (Operant Conditioning) Skinner สิ่งที่ก่อให้เกิดขึ้นก่อน ( Antecedent) พฤติกรรม ( Behavior) ผลที่ได้รับ ( Consequence)

20

21 การนำแนวคิดของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการของสกินเนอร์ไปประยุกต์ใช้ใน การจัดการเรียนรู้สามารถทำได้ดังนี้ 1) ในระหว่างที่มีการเรียนการสอน ผู้สอนควรให้การเสริมแรงแก่ผู้เรียนทันทีจะช่วยเพิ่มอัตราการตอบสนองในการเรียนรู้ให้มากขึ้นเรื่อยๆ 2) การเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทน 3) การลงโทษที่รุนแรงมีผลเสียมากกว่าผลดี ผู้สอนควรใช้วิธีการงดการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เมื่อไม่มีการตอบสนองผู้เรียนจะหยุดพฤติกรรมนั้นไปเอง 4) ถ้าต้องการปลูกคุณลักษณะอันพึงประสงค์แก่ผู้เรียน ผู้สอนควรให้การเสริมแรงแก่ผู้เรียนทันที เช่น การให้คะแนน การให้ การให้คำชมเชย การให้เกียรติ การเชิญให้แสดงตัวหน้าชั้น เป็นต้น

22 ทฤษฏีการเรียนรู้ของฮัลล์
B = D x H เมื่อ B แทน พฤติกรรม (Behavior) D แทน แรงขับ (Drive) H แทน นิสัย (Habit)

23 1) ความสามารถ (Capacity) ในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน
2) การจูงใจ (Motivation) จะช่วยให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้โดยการสร้างแรงขับ (Drive) ให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน 3) การเสริมแรง (Reinforcement) จะช่วยทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี 4) ความเข้าใจ (Understanding) การเรียนรู้โดยการสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริงจะช่วยให้สามารถนำความรู้มาแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น 5) การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer of Learning) การเรียนรู้สิ่งใหม่ที่คล้ายคลึงกับสิ่งที่เคยการเรียนรู้ในอดีต จะทำให้สามารถนำประสบการณ์เดิมมาใช้ในการตอบสนองต่อการเรียนรู้สิ่งใหม่ได้ 6) การลืม (Forgetting) เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ และไม่ได้ใช้สิ่งที่เรียนรู้นั้น จะทำให้เกิดการลืมได้

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34 ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม ของโคลเบิร์ก

35

36

37

38 ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย 1
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย 1.ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล

39

40

41

42 ทฤษฎีพหุปัญญา

43 กิจกรรมที่ 2 Look in Yourself วิเคราะห์ความถนัดพหุปัญญาของตนเอง

44

45 Thank you for you pay attention


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google