ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Understanding Conflict and Violence
กฤษณ์พชร โสมณวัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
รัฐกับความขัดแย้ง การปกครองและให้บริการประชาชนเป็นเหตุผลแห่งการดำรงอยู่ของรัฐ ปกครองเพื่อจรรโลงระบบเศรษฐกิจ (การผลิต, การกระจาย, การสะสมทุน) The Wealth of Nations: ระบบเศรษฐกิจมีกลไกในการจัดการตนเอง หากกลไกดำเนินไปตามธรรมชาติของมัน คือ การแข่งขันอย่างเสรี อำนาจรัฐในประเด็นนี้เน้นที่การรักษาความสงบเรียบร้อย, กิจการกับต่างประเทศ รัฐสมัยใหม่ภายใต้มีรากฐานจากอุดมการณ์เสรีนิยม
3
Understanding Conflicts
Situation, behavior and attitude which each heavily influencing the others Conflict as Perception: Any situation in which two or more social entities perceive that the possess mutually incompatible goals. Conflict as Manifesto: When two or more persons or groups manifest the belief that they have incompatible objective. These definition include non violence forms of conflict Parent-child, competitive sport, contract, diplomatic affairs.
4
‘Incompatibility’ The actors think that realization of one or more of their goals is being, or will be, thwarted by another party.
6
Value of goals determines the intensity of conflict
The number of goals that each actor perceives to have been thwarted demarcates the scope of the conflict If others become involved in the conflictive situation or the value of the goals in dispute increases, then the conflict will escalate and its domain will be extended
8
Conflictive situations need not be grounded upon actual issues or events.
While realistic conflicts are bases on past occurrences that have led to the perception of incompatible goals. Unrealistic conflicts may emerge from misperceptions and confusion
10
Characteristic of Conflicts
Majority of conflictive situation contain both realistic and unrealistic element. Tend to involve the expectation of zero-sum and variable-sum outcomes. Zero-sum: total benefit to all actors always adds up to zero. Variable-sum: no gain can accrue to one party without an equal loss to another.
11
Different interests may lead to conflict, although parties basically concur about the value of some position, role or resource and the various factors that may have led them to disagree. Consequently, a compromise is usually possible.
13
On the other hand, conflicts of value exist when parties differ fundamentally about the nature of desirable end-states or social and political structures.
14
Conflictive attitudes are closely related to conflictive situations.
as ‘common patterns of expectation, emotional orientation and perception that accompany involvement in a conflict situation’
15
Aspects of Conflictive Situations
Conflict aspect Agreement on basic values and ends Agreement on causes Value No Interest Yes Attribution Means Either
16
Defining Conflicts conflict frequently takes the occurrence of goal incompatibility as the starting point from which a conflict becomes manifest and each of three elements – situation, attitudes and behaviour – begin to interact.
17
Incipient: can broadly be regarded as a situation in which a conflict is not recognised by one or both parties. Latent: emerges when goal incompatibility is perceived, but not sufficiently motivating to give rise to observable conflictive behavior Suppressed: parties are aware of a conflictive situation, but the costs of pursuing their goals are too high to produce conflictive behaviour. actors must not only believe that they are in a conflictive situation, they must also manifest this belief in a way discernible to others.
18
Conflict and Violence ความขัดแย้งมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นตลอดเวลา
ถึงความขัดแย้งจะไม่ถูกแสดงออกมาให้เป็น ความขัดแย้งที่เป็นจริง (realistic conflict) ก็ตาม แต่ ความขัดแย้งโดยสภาพเป็นมโนทัศน์ (perception) อยู่เกินครึ่ง การทำงานของความขัดแย้งจึงไม่ได้อยู่ที่ “จริง” หรือ “ไม่จริง” ความขัดแย้งที่ถูกกดทับก็ดี ความขัดแย้งที่ยังไม่แสดงก็ดี ความขัดแย้งที่ไม่คุ้มจะ แสดงก็ดี ล้วนแต่เป็นหน่อเชื้อให้เกิดทัศนคติที่เอื้อต่อความขัดแย้ง และซ้อนทับ ขยายตัวกันไปไม่รู้จบ
19
เมื่อความขัดแย้งลึกขึ้นจนหาที่มาไม่เจอ และขยายไปถึงกลุ่มที่ใหญ่ขึ้นๆ คุณค่าของ เป้าหมายจะมากขึ้น และความหนักหน่วงของความขัดแย้งจะมากตาม ในภาวะเช่นนี้ อาจเกิด “ความรุนแรง” ขึ้น “การทำให้ศักยภาพของมนุษย์สะดุดหยุดลงโดยยังไม่ถึงกาลอันสมควร” ความขัดแย้ง กับ ความรุนแรงเป็นคนละเรื่องกัน เพียงแต่ “ความรุนแรง” บางครั้งถูกนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหา “ความขัดแย้ง” เบื้องต้น เราอาจพิจารณา “ความรุนแรง” ออกเป็นสามลักษณะ
20
ความรุนแรงทางตรง เป็นกระบวนการ (process) อันชัดเจน ที่ประกอบไปด้วย
ที่มาของความรุนแรง (source of violence) เป้าของความรุนแรง (target of violence) หรือ เหยื่อของความรุนแรง (victim of violence) “ชาวสิงหลที่ถูกสังหารที่เมืองโบราเวราเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ ในศรีลังกา นั้นมีทั้งหมด 37 คน เป็นหญิงเสีย 5 คน เป็นเด็ก 10 คน” ผลของความรุนแรงทางตรงมักจะเห็นได้ชัดเจนทั้งกระบวนการ
21
ลักษณะของความรุนแรงทางตรง
เห็นที่มาของความรุนแรงชัดเจน การตระหนักแน่ว่าความรุนแรงได้เกิดขึ้น อุปกรณ์ที่ใช้สร้างความรุนแรงแปรผันตรงกันแสงยานุภาพในการก่อความรุนแรง ผลที่เกิดกับเหยื่อของความรุนแรง เป็นสิ่งที่ระบุได้ อาจเกิดขึ้นกับกายหรือจิตใจก็ได้ กายภาพ เช่น บดขยี้ ฉีกกระชาก แทง เผา ยาพิษ การทำให้ระเหิดหายไป ไม่ให้หายใจ ไม่ให้น้ำ ไม่ให้อาหาร ปฏิเสธการเคลื่อนไหว ฯลฯ จิตใจ เช่น การขังเดี่ยวไม่ให้รู้วันคืน การขังมืด การหยามเกียรติยศ สาระสำคัญของความรุนแรงทางตรง คือ การเปิดเผยชัดของกระบวนการ
22
ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง
เมื่อเปรียบเทียบกับ “ความรุนแรงทางตรง” ซึ่งเปิดเผยตั้งแต่ที่มา วิธีการกระทำ เป้าหมาย และเหยื่อ ฯลฯ ความรุนแรงเชิงโครงสร้างจะเป็นไปในลักษณะที่แนบเนียนกว่า คือ มองไม่ออกว่า ความรุนแรงมาจากไหน ใครได้รับผลกระทบ และผลกระทบดังกล่าวคืออะไร การศึกษาความรุนแรงทางตรง เราอาจให้ความสำคัญกับตัวบุคคล (agent) ผู้กระทำ ความรุนแรง เพราะมันเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่บุคคลนั้นเลือกใช้ความรุนแรงในการแก้ ไปความขัดแย้ง
23
แต่ความรุนแรงเชิงโครงสร้างนั้น เมื่อที่มาของความรุนแรงไม่ชัด ทำ ให้ตัวบุคคลนั้นไร้ความหมายในสถานการณ์นี้ กล่าวคือ ไม่ว่าใครจะ ไปอยู่ในโครงสร้าง ย่อมกลายเป็นกลไกของโครงสร้างในการก่อ ความรุนแรง
24
แผนผังแสงความรุนแรงเชิงโครงสร้าง
25
นิยามของความรุนแรงเชิงโครงสร้าง
ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง หมายถึง อะไรก็ตามที่มาทำให้เกิดช่องว่าง ระหว่างศักยภาพของมนุษย์ กับสิ่งที่มนุษย์เป็นอยู่จริง เช่น เด็กไทยสามารถเจริญเติบโตมีสุขภาพแข็งแรงและช่วยสร้างสรรค์สังคม ได้ แต่ต้องมาตายเพราะอหิวาตกโรคเมื่ออายุเพียงสามเดือน กล่าวคือ สังคมมีศักยภาพในการยับหยั่งความตายของเด็กเหล่านี้ แต่ไม่ทำ ศักยภาพของเด็กจึงถูกจำกัดลงให้ตายโดยไม่น่าจะเป็น
27
ตรงกันข้ามกับ ความรุนแรงทางตรง, ความรุนแรงเชิงโครงสร้างดำรงอยู่ใน ช่วงเวลาอันยาวนานต่อเนื่อง ทุกขณะจิต และมักจะไม่ถูกสังเกตเห็น เพราะ มักเกิดกับคนที่อยู่นอกสายตา, คนชายขอบ, พวกใต้ถุน หรือมองว่า สิ่งที่ลดทอนศักยภาพของมนุษย์นั้นเป็นไปตามครรลองของธรรมชาติ ความอดอยากมิใช่ความหิวหรือความไม่สะดวกสบายเพียงชั่วครั้งชั่วคราว แต่รวมเอาความหิว ความรู้สึกจำเจ ไร้ทางออก และความสิ้นหวังไปพร้อม กัน อย่างต่อเนื่อง
28
ปัญหาของทฤษฎีความรุนแรงเชิงโครงสร้าง
หัวใจของ “ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง” คือ การลดทอนศักยภาพของมนุษย์ ปัญหาคือ “ศักยภาพของมนุษย์” ดังกล่าวคืออะไร? ความรุนแรงเชิงโครงสร้างดูเหมือนจะครอบคลุมความอยุติธรรมทางสังคมทั้งหมดเข้าไป ในมิตินี้ เท่ากับว่า ความรุนแรงดำรงอยู่ตลอดประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ และยากที่เรา จะหลุดพ้นจากมันได้ การคิดถึงศีลธรรมขั้นต่ำ (การไม่ให้เกิดความรุนแรงเป็น เป้าหมายในเชิงปฏิเสธความเลวร้ายของสังคม แต่การสร้างความยุติธรรม คือ การทำให้ สังคมดีขึ้น) หลายครั้ง ความรุนแรงเชิงโครงสร้างกลายเป็นอุดมการณ์ที่รองรับความรุนแรงทางตรง
29
ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม
ครอบคลุมปริมณฑลอันกว้างขวางของมนุษยศาสตร์ ปริมณฑลในเชิง สัญลักษณ์ในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ศาสนา อุดมการณ์ ภาษา ศิลปะ วิทยาการ คณิตศาสตร์ ฯลฯ ที่สนับสนุนรองรับความชอบธรรม ให้เกิดความรุนแรงทางตรงหรือความ รุนแรงเชิงโครงสร้างต่อไป ชัยวัฒน์ เสนอว่า ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรมเป็นส่วนที่ลึกที่สุด
31
ขุนแผนทำกุมารทอง เครื่องรางของขลังที่มือชื่อเสียงที่สุดของขุนแผน คือ ดาบฟ้าฟื้นและกุมารทอง การปลุกเสกกุมารทอง ต้องทำตามขั้นตอน ต่อไปนี้ หนึ่ง ผู้ปลุกเสกต้องมีบุตรหัวปีในครรภ์ของหญิง สอง ต้อขออนุญาตมารดาของทารกในการนำเอาทารกมาทำกุมารทอง สาม ต้องสังหารมารดาของทารกด้วยการแหวะช่องทอง และนำเอาทารกออกมาจากคครภ์ สี่ นำเป็นบุตรของตนไปย่างให้ฉ่ำน้ำมัน จนศพเกรอะ ห้า ท่องมนต์ “ผีลูกผุดลุกขึ้นพูดจ้อ”
32
ความเชื่อมโยงกันของความรุนแรง
ความรุนแรงทางตรงเกิดอย่างเด่นชัดที่สุด แต่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยแยกขาดจากความรุนแรงประเภท อื่นๆ เมื่อคนเราสิ้นหวังจากโครงสร้างที่ถูกขูดรีดเอาเปรียบบังคับให้ตาย ความสิ้นหวังต่อตนเองและ เพื่อนมนุษย์ ทำให้เกิดพฤติกรรมต่อต้านสังคม ถ้ามนุษย์สักคนสิ้นหวังกับตัวเอง (ไม่สามารถไต่บันไดทางสังคมได้) สิ้นหวังกับคนอื่น อาชญากรรม ถ้ามนุษย์จำนวนมากสิ้นหวัง ปฏิวัติ, จลาจล ฯลฯ ศาสนาที่พร่ำสอนให้เราปล่อยวาง ด้านหนึ่งคือให้รองรับธรรมชาติอันไม่เป็นธรรม และรอบรอง ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง = ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม
33
คนข่าวคลั่ง
34
งูกินหางระหว่างความขัดแย้งและความรุนแรง
ย้ำอีกครั้ง “ความรุนแรง” เป็นวิธีการจัดการ “ความขัดแย้ง” รูปแบบหนึ่ง แต่ความขัดแย้งเป็น “มโนทัศน์” (perception) ส่วนความรุนแรงทำร้ายชีวิต เมื่อความขัดแย้งเกิดขึ้น ไม่ถูกระงับ ถูกกดทับไว้ มันไม่ได้หายไปไหน แต่กลายเป็นหน่อเชื้อให้ เกิดความขัดแย้งใหม่ๆ ง่ายขึ้น หนักขึ้น และกว้างขึ้น เมื่อถึงจุดที่แต่ละฝ่ายตระหนักถึงความขัดแย้ง แต่ละฝ่ายอาจแสดงออกมาในรูปแบบต่างๆ โดย จะแสดงต่อเมื่อพิจารณาว่า “ราคา” ของการแสดงความขัดแย้งเป็นสิ่งที่รับได้ เช่น มีกระบวนการยุติธรรมที่เราไว้วางใจ, กำปั้นเราใหญ่กว่า ฯลฯ ถ้าไม่แสดงออก (manifest) ความขัดแย้งนั้นก็ไม่ได้สลายไปเช่นกัน
35
สรุป รัฐดำรงอยู่เพื่อรักษาความสงบในสังคมเพื่อจรรโลงระบบเศรษฐกิจ ด้วยการระงับความ ขัดแย้งต่างๆ กฎหมายเป็นเครื่องมือและที่มาทั้งมวลอำนาจของรัฐ การระงับข้อพิพาทจึงเป็นหน้าที่ของ นักกฎหมายโดยตรง การทำความเข้าใจสภาพของ “ความขัดแย้ง” จะทำให้เราเห็นข้อจำกัด และความเป็นไปได้ อื่นๆ ในการจัดการความขัดแย้ง การทำความเข้าใจ “ความรุนแรง” ก็เพื่อให้เห็นผลที่ลึกขึ้นของความขัดแย้ง และการทำ ความเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมและกระบวนการยุติธรรมล้วนแต่สัมพันธ์กัน เมื่อพอเข้าใจความขัดแย้งและความรุนแรง ต่อไปเราจะพูดถึงการระงับความขัดแย้งและ ความรุนแรง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.