ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เด็กหญิง อภิญญา ตันน้อย
สิงค์โปร์ จัดทำโดย เด็กหญิง อภิญญา ตันน้อย ชั้น ม.2/9 เลขที่ 33 โรงเรียนจักรคำคณาทร
2
1.ข้อมูลทั่วไป ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ สิงคโปร์เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก มีพื้นที่รวม ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์ และเกาะใหญ่น้อยบริเวณรายรอบ รวม 63 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุด คือ เกาะ Singapore ด้านสภาพภูมิอากาศ สิงคโปร์อยู่ในเขตมรสุมทำให้มีอากาศอบอุ่นเกือบตลอดปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 25 ํ- 32 ํ เซลเซียส แบ่งเป็น 4 ฤดู คือ ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (North-east Monsoon Season) ฤดูก่อนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Pre South-west Monsoon) ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (South-west Monsoon Season) ฤดูก่อนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Pre North-east Monsoon)
3
การเมืองการปกครองของสิงคโปร์ สิงคโปร์ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด (The Constitution) แบ่งอำนาจการปกครองเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. สภาบริหาร (The Executive) ประกอบด้วยประธานาธิบดี และคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่บริหารประเทศผ่านกระทรวง ทบ 2. รัฐสภา (Parliament) มาจากการเลือกตั้งทั่วไป 3. สภาตุลาการ (The Judiciary) แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ศาลชั้นต้น (Subordinate Courts) และศาลฎีกา (Supreme Court) 4. ประชากร (People) ในด้านศาสนา สิงคโปร์มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา โดยร้อยละ 42.5 ของประชากรนับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ อิสลาม ร้อยละ 14.9 คริสต์ ร้อยละ 14.5 ฮินดู ร้อยละ 4 และอื่นๆ ร้อยละ 24.1
4
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
วัฒนธรรมของสิงคโปร์ 1.เทศการณ์ตรุษจีน ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะจัดงานเซ่นไหว้เทพเจ้าและงานรื่นเริงสนุกสนานอื่นๆ 2.เทศกาล Good Friday ของชาวคริสต์ในเดือนเมษายน จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการสละชีวิตของพระเยซูบนไม้กางเขน 3.เทศกาลวิสาขบูชา (Vesak Day) ของ ชาวพุทธจัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม เพื่อระลึกถึงการประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า 4.เทศกาล Hari Raya Puasa เป็นการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิมหลังการสิ้นสุดพิธีถือศีลอดหรือรอมฏอน 5. เทศกาล Deepavali เป็นเทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดูในสิงคโปร์
5
ภาพรวมเศรษฐกิจ ภาคบริการที่สำคัญ เช่น ค้าส่ง ค้าปลีก การขนส่ง ภัตตาคารและโรงแรม การเงินการธนาคาร เป็นต้น รองลงมา ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 26 ที่เหลือเป็นภาคอื่นๆ อาทิ ก่อสร้าง เกษตรกรรม และประมง ร้อยละ 10.2 สำหรับภาคเกษตรของสิงคโปร์มีบทบาทน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงไก่ ปลูกผัก และประมง เพื่อใช้บริโภคภายในประเทศ ด้านการค้าระหว่างประเทศ สิงคโปร์มีบทบาททั้งด้านการค้าสินค้าที่ผลิตในประเทศ และนำเข้ามาเพื่อส่งออกต่อ
6
อาหาร อิทธิพลทางวัฒนธรรมที่สิงคโปร์ได้รับหลังจากการก่อตั้งประเทศขึ้น ก็คือวัฒนธรรมของจีน อาหารก็เป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมนี้ด้วยเช่น หมูสะเต๊ะ ข้าวมันไก่ ขนมจีบ เป็นต้น ลักซา (Laksa) อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยำใส่กะทิ ทำให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้งแห้ง พริก กุ้งต้ม และหอยแครง เหมาะสำหรับคนที่ชอบรับประทานอาหารทะเลเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม ลักซามีทั้งแบบที่ใส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยมมากกว่า
7
การค้าระหว่างประเทศและการส่งออกและนำเข้า
สินค้าส่งออกสำคัญของสิงคโปร์คือ เครื่องจักรและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ - ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ - ชิ้นส่วนเครื่องประมวลผลและเครื่องใช้สำนักงาน - เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ - เครื่องมือทางสื่อสารโทรคมนาคม สินค้านำเข้าที่สำคัญคือ เครื่องจักรกลและชิ้นส่วน น้ำมันและผลิตภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ และอาหารโดยกว่าครึ่งเป็นการนำเข้ามาเพื่อส่งออกต่อ
8
กฎระเบียบนำเข้าสินค้าของสิงคโปร์
- มาตรการนำเข้าและส่งออก - อัตราภาษีนำเข้า 1) สินค้าทุกชนิดที่นำเข้าต้องเสียภาษีสินค้าและบริการ 2) สินค้านำเข้าที่ต้องเสียภาษีนำเข้า ได้แก่ เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ บุหรี่และยาสูบ น้ำมันปิโตรเลียม รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ - มาตรการที่มิใช่ภาษี 1) สิงคโปร์ไม่อนุญาตให้มีสารตกค้างเกินปริมาณที่กำหนดใน Food Act 2) กำหนดให้ฟาร์มเลี้ยงไก่ โรงฆ่า และแปรรูป ผลิตภัณฑ์ไก่ของไทย ต้องได้รับการตรวจสอบและอนุญาตจากหน่วยงาน Agri-Food & Veterinary Authority (AVA) ของสิงคโปร์
9
ภาคการเงินและอัตราแลกเปลี่ยน
ปัจจุบันสิงคโปร์นับเป็นศูนย์กลางการค้าเงินตราต่างประเทศสำคัญเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากลอนดอน นิวยอร์ก และโตเกียว นอกจากนั้น สิงคโปร์ยังเป็นศูนย์บริหารกองทุนที่สำคัญของเอเชียโดยเป็นฐานของสถาบันการเงินหลายแห่ง ด้านการธนาคาร สิงคโปร์มีธนาคารพาณิชย์รวม 108 ราย แบ่งเป็นธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศจำนวนมากถึง 103 ราย ที่เหลืออีก 5 รายเป็นธนาคารท้องถิ่น 1) ธนาคารต่างประเทศ (Foreign Banks) จำนวน 103 ราย 2) ธนาคารท้องถิ่น (Local Banks) มี 5 ราย
10
อุตสาหกรรมสำคัญในสิงคโปร์
อุตสาหกรรมสำคัญในสิงคโปร์ เซมิคอนดักเตอร์ 1) โรงงาน Wafer Fabrications มีจำนวน 14 แห่ง 2) ศูนย์ประกอบและทดสอบ (Assembly and Test Center) จำนวน 19 แห่ง 3) ศูนย์ออกแบบแผงวงจรรวม (Integrated Circuit Design Center) จำนวน 40 แห่ง
11
ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ
ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ ปิโตเลียม สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการกลั่นน้ำมันอันดับ 3 ของโลก บริษัทกลั่นน้ำมันที่สำคัญคือ ExxonMobil ก๊าซธรรมชาติ สิงคโปร์นำเข้าก๊าซธรรมชาติทั้งหมดจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย เพื่อใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าและปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ บริษัทลิตสินค้าหลายชนิด เช่น เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก สินค้าเกษตร น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ บริษัทสำรวจและขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติของสหรัฐฯ นอกจากนี้ ยังผลิตปิโตรเคมีและไฟฟ้า
12
ศาสนา ศาสนา ในประเทศสิงคโปร์ศาสนาร้อยละพุทธ
ศาสนา ในประเทศสิงคโปร์ศาสนาร้อยละพุทธ 33%คริสต์ 18.3%อศาสนา 17%อิสลาม 14.7%เต๋า 10.9%ฮินดู 5.1%อื่น ๆ 0.7% ในปี ค.ศ. 2010[8] ประเทศสิงคโปร์มีผู้นับถือศาสนา แบ่งได้ดังนี้ ศาสนาพุทธ 33% ศาสนาคริสต์ 18.3% ศาสนาอิสลาม 14.7% ลัทธิเต๋า 10.9% ศาสนาฮินดู 5.1% ศาสนาอื่น ๆ 0.7% และศาสนา 17%
13
การแต่งกาย หญิง เสื้อและผ้าถุง ตัดเย็บด้วยผ้าพิมพ์ลายปาเต๊ะสีสันสดใส คอกลมกว้าง แขนเสื้อยาวสามส่วน ชาย สวมเสื้อแขนยาว คอจีน เสื้อผ้าหน้าซ่อนกระดุม สวมกางเกงขายาว โดยเสื้อจะใช้ผ้าสีเรียบหรือผ้าแพรจีนก็ได้
14
ดนตรี Dizi เป็นขลุ่ยจีนดั้งเดิมมีปุ่ม 3 ปุ่ม อาจจะมีแผ่นบาง ๆ เพื่อปิดรูไว้เพื่อทำให้เกิดเสียงรัว เชื่อกันว่า Dizi นำมาจากทิเบตในช่วงยุคราชวงค์ฮั่นและตั้งแต่นั้นมาก็มีการใช้ในประเทศจีนมา เป็นเวลากว่า 2 พันปีแล้ว ผู้เล่นจะมีเทคนิคในการเป่ามากมาย ซึ่งก็จะทำให้เกิดเสียงที่แตกต่างกันไป Erhu เกิดขึ้นในประเทศจีนในสมัยรัชวงศ์ถัง เป็นซอสองสายที่เล่นบนตัก เส้นสายจะมีระดับเสียง 5 ระดับ ใช้คันชักในการสี มีรูปแบบหลายชนิดโดยรูปร่างและกล่องเสียงก็จะแตกต่างกันออกไป Erhu กลายมาเป็นเครื่องดนตรีหลักในอุปรากรจีน Gaohu เป็นเครื่องดนตรีหลักของเพลงกวางตุ้งและเพลงอุปรากรจีน Gaohu มีลักษณะคล้ายกับ Erhu แต่มีกล่องเสียงที่มีน้ำหนักเบากว่า โดยทั่วไปกล่องเสียงจะเป็นวงกลม และมีระดับเสียงที่สูงกว่าคือ 5 ระดับด้วยกัน และมีเสียงที่กังวานกว่าเมื่อเทียบกับ Erhu
15
โครงสร้างพื้นฐานสำคัญ
ทางหลวง ทางหลวงเป็นเส้นทางคมนาคมหลักของสิงคโปร์ ส่วนมากเป็นถนน 6 ช่องจราจร ทางด่วน (Expressway) ได้แก่ 1. East Coast Parkway (ECP) 2. Pan Island Expressway (PIE) 3. Ayer Rajah Expressway (AYE) 4. Central Expressway (CTE) 5. Tampines Expressway (TPE) เป็นต้น ทางหลวงอื่นๆ ได้แก่ 1.Outer Ring Road System (ORRS) 2. West Coast Highway 3. Nicoll Highway
16
ระบบราง 1. รถไฟ 2. Mass Rapid Transit (MRT)
3.Light Rapid Transit (LRT) ท่าอากาศยาน สิงคโปร์ มีท่าอากาศยานระหว่างประเทศ 1 แห่ง ได้แก่ Changi International Airport ท่าเรือ สิงคโปร์ตั้งอยู่บนเส้นทางระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทำให้เป็นเมืองท่าสำคัญที่มีบทบาทในการพักและขนถ่ายสินค้า โดยมีท่าเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในอ่าวสิงคโปร์
17
ประชากร เชื้อชาติ สิงค์โปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในภูมิภาค มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 2 ของโลก มีจำนวนประชากรประมาณ 5,543,494 ประกอบด้วยชาวจีน (76.5%) ชาวมาเลย์ (13.8%) ชาวอินเดีย (8.1%) และอื่น ๆ (1.6%) ภาษา สิงคโปร์มีภาษาราชการถึง 4 ภาษา คือ อังกฤษ จีน มาเลย์ และภาษาทมิฬ ศิลปวัฒนธรรมก็เป็นลักษณะผสมระหว่างจีน มาเลเซีย และอินเดีย ภาษาประจำชาติ: คือภาษามาเลย์
18
ข้อตกลงความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศไทยกับสิงคโปร์
วัตถุประสงค์หลัก เพื่อกระชับความร่วมมือในการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความเกื้อกูลกัน ใน 5 สาขา คือ 1.ด้านเกษตรและอาหาร 2.ด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับยานยนต์ 3.ด้านการบริการทางการเงิน 4.ด้านการท่องเที่ยว 5.ด้านการขนส่งและการบริหารจัดการ
19
ข้อสังเกตบางประการ - สิงคโปร์และไทยมีระดับความชำนาญในสาขาที่แตกต่างกัน สิงคโปร์มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล บริหารจัดการธุรกิจ สิงคโปร์เป็นตลาดเล็ก ทำให้ความต้องการบริโภคในประเทศไม่มากนัก ประเทศไทยจึงควรใช้สิงคโปร์เป็นแหล่งส่งออก - แม้สิงคโปร์เป็นตลาดเล็ก แต่ประชากรมีรายได้สูง จึงนิยมสินค้าที่มีคุณภาพสูง มากกว่าคำนึงถึงราคาของสินค้า - สิงคโปร์มีข้อกำหนดเรื่องการจ้างงานแรงงานต่างชาติ โดยอนุญาตให้จ้างแรงงานต่างชาติได้เพียงร้อยละ 5 ของจำนวนแรงงานทั้งหมด - สำหรับประเภทธุรกิจที่ไทยน่าจะส่งเสริมการลงทุนจากสิงคโปร์ ได้แก่ กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ ยา ปิโตรเลียม และโลจิสติกส์
20
บรรณานุกรม เมื่อ 26 มกราคม 2560
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.