ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยImogen Pitts ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การเพิ่มประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้แผ่นระบายความร้อนแบบมีครีบ
School of Renewable Energy (SCORE) Maejo University ChIANG mai, Thailand การเพิ่มประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้แผ่นระบายความร้อนแบบมีครีบ Efficiency Enhancement of Solar Cell using Cooling Plate Heat Exchanger with Fin สราวุธ พลวงษ์ศรี โทรศัพท์ โทรสาร * เร็วลมเฉลี่ย 1.5 m/s แล้วทำการทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบอุปกรณ์รับรังสีอาทิตย์ และเก็บข้อมูลอุณหภูมิ แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ตั้งแต่เวลา 9:00-16:00 น.เพื่อคำนวณหาประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์และอัตราการถ่ายเทความร้อน Objectives 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการระบายความร้อนด้วยแผ่นครีบ 2. เพื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดต่างๆ Results Methods ผลการทดสอบพบว่า เมื่อติดครีบระบายความร้อนสามารถลดอุณหภูมิแผงลงได้ โดยแผงชนิด Monocrystalline อุณหภูมิแผงลดลงเฉลี่ย o C ผลิตไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้น 8.81 W ประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์เพิ่มขึ้น0.88% คิดเป็นประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น 6.32% กรณีแผงชนิด Polycrystalline สามารถลดอุณหภูมิแผงลงได้เฉลี่ย 9.45 o C ผลิตไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้น 7.63 W และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์ได้ 0.63 % คิดเป็นประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น 4.68 % แสดงดังตารางที่ 1 รูปที่ 1 ชนิดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (1) ชนิดผลึกเดี่ยว Monocrystalline) (2) ชนิดผลึกรวม (Polycrystalline) ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลการติดครีบระบายความร้อนที่แผงเซลล์ แสงอาทิตย์ ในการทดลองจะใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์ 2 ชนิด ซึ่งประกอบไปด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกเดี่ยว (Monocrystalline และชนิดผลึกรวม (Polycrystalline) กำลังไฟฟ้าสูงสุด 120 W ทำการติดแผ่นครีบอะลูมิเนียมด้านล่างแผงเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อระบายความร้อน โดยแผ่นครีบทำจากแผ่นอะลูมิเนียม มีระยะห่างระหว่างครีบ 2 cm สูง 6 cm และสร้างช่องลมเพื่อให้สามารถสามารถควบคุมการไหลของอากาศ โดยด้านบนของช่องลมจะติดตั้งพัดลมดูดอากาศขนาด 3.6 W ความ มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.