งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 7 April 200\14

2 Decision Support Systems
13 July 2002 บทที่ 5 ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System) Decision Support Systems

3 สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface)
7 April 200\14

4 สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface)
เนื่องจากพื้นฐานการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้นั้นไม่เท่ากัน หากผู้ใช้ที่มี พื้นฐานในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สูง และยิ่งเข้าใจในหลักการทำงานด้วย แล้ว จะทำให้การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีประสิทธิภาพและ ศักยภาพสูงสุด ดังนั้น นักพัฒนาจึงได้เล็งเห็นความสำคัญตรงจุดนี้เป็นอย่างมาก ด้วยการพยายาม ออกแบบระบบสื่อประสานกับผู้ใช้ ให้สามารถติดต่อสื่อสารกับระบบงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 7 April 200\14

5 เนื้อหา ความหมายของสื่อประสานกับผู้ใช้
องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System: UIMS) การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การออกแบบการจัดวางและการแสดงผล (Layout and Display Design) รูปแบบอื่น ๆ ของสื่อประสานกับผู้ใช้ ระบบสารสนเทศภูมิภาค (Geographic Information System: GIS) 7 April 200\14

6 ความหมายของสื่อประสานกับผู้ใช้
“สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface)” หมายถึง สื่อกลางในการติดต่อและโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อทางด้านฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ User Interface Command Line Graphic User Interface (GUI) Natural Language รูปแสดงส่วนประกอบของสื่อกลางในการติดต่อและโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ 7 April 200\14

7 สื่อประสานกับผู้ใช้ เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถมากขึ้น ทำให้นักพัฒนามีเครื่องมือในการสร้างสื่อประสานได้ง่าย และสวยงามมากขึ้น ด้วยรูปแบบที่เรียกว่า “สื่อประสานแบบกราฟฟิก” (Graphical User Interface :GUI) เช่น เมนูคำสั่ง แบบฟอร์ม การถาม-ตอบ เป็นต้น รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ มีสีสันสวยงาม มีการใช้งานที่ง่ายดายมากขึ้น และที่สำคัญคือ ผู้ใช้สามารถประสาน ติดต่อ หรือโต้ตอบกับระบบได้ด้วยการใช้เสียงพูด (Natural Language) หรือนิ้วสัมผัส ที่นับว่าเป็นการอำนวยความสะดวกมากยิ่งขึ้น 7 April 200\14

8 องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้
Task Knowledge Presentation Language Interpret the display Generate the display Application Process Process the content Interpret the user input Plan and take action Action Language System 7 April 200\14

9 องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ : User
องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ผู้ใช้ และกลุ่มระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบในกลุ่มของผู้ใช้ระบบ 1. องค์ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้ของผู้ใช้ระบบ ที่จะต้องมีหรือจะต้องรู้ไม่ว่าจะเป็นความรู้เรื่องใด ๆ ก็ตามที่จะ นำมาใช้เพื่อติดต่อกันระบบคอมพิวเตอร์ องค์ความรู้นั้นอาจเกิด จากความเชี่ยวชาญของผู้ใช้ระบบเองหรืออาจเกิดจากการเรียนรู้ จากแหล่งอื่นก็ได้ 7 April 200\14

10 องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ : User
2. ภาษาการกระทำ (Action Language) การกระทำดังกล่าวจะต้องเป็น การกระทำที่ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจ ดังนั้นจึงต้องมี “ภาษาแสดงการกระทำ” ซึ่งหมายถึง ภาษาที่ใช้สร้างรูปแบบการส่งผ่านคำสั่งที่จะนำเข้าไปประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ หรือกล่าวง่าย ๆ ก็คือ “รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode/Style)” นั่นเอง 3. ปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ใช้ (User’s Reaction) เป็นปฏิกิริยาซึ่งเกิดขึ้น หลังจากผู้ใช้ได้รับผลลัพธ์จากระบบ ปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ใช้จะนำเข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์อีกครั้ง เพื่อประมวลผลคำสั่งด้วยภาษาที่ทำให้เกิดการกระทำ ต่อไป 7 April 200\14

11 องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้
องค์ประกอบในกลุ่มของระบบคอมพิวเตอร์ 1. บทโต้ตอบ (Dialog) หรือ “บทสนทนา” ที่ใช้โต้ตอบและติดต่อกับ ผู้ใช้ระบบที่คอมพิวเตอร์ได้เตรียมไว้ ซึ่งอาจเป็นชุดข้อมูลหรือชุดคำสั่งก็ได้ 2. การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ (Computer Processing) จะทำ หน้าที่แปลคำสั่งที่ผู้ใช้ป้อนผ่านมาทาง Action Language แล้วปฏิบัติตาม คำสั่ง จากนั้นก็สร้างผลลัพธ์ขึ้นเพื่อจะนำไปเสนอต่อไป 3. ภาษาการนำเสนอ (Presentation Language) เป็นภาษาที่ระบบ คอมพิวเตอร์ใช้เพื่อแสดงผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ระบบได้รับทราบ การแสดง ผลลัพธ์เป็นแบบข้อความ รูปภาพ กราฟ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพ สามมิติ แสง สี เสียง 7 April 200\14

12 ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System: UIMS)
หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ในการจัดการสื่อประสาน ที่จะนำเสนอผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ไปยังผู้ใช้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม โดยจะติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานแบบจำลอง และระบบจัดการฐานองค์ความรู้ เพื่อนำข้อมูลที่ประมวลผลได้ตามคำสั่งของผู้ใช้มาแสดงผล 7 April 200\14

13 ความสามารถของระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้
1. สามารถรองรับเทคโนโลยีด้านกราฟิกของสื่อประสานกับผู้ใช้ (Graphic User Interfaces) เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ง่ายยิ่งขึ้น 2. สามารถรองรับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) ได้หลายประเภท ซึ่งช่วยให้สามารถนำข้มอูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ 3. สามารถรองรับการแสดงผลในลักษณะกราฟิก 3 มิติ ที่มีสีสันสวยงามได้ 7 April 200\14

14 ความสามารถของระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้
4. สามารถแสดงข้อมูลพร้อมกันหลายหน้าต่างและหลายรูปแบบได้ 5. ผู้ใช้สามารถปรับแต่งหน้าตาของระบบสื่อประสานกับผู้ใช้ ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ได้เสมอ 7 April 200\14

15 ลักษณะที่ดีของสื่อประสานกับผู้ใช้
ลักษณะที่ดีของสื่อประสานกับผู้ใช้ ควรเป็นอย่างไร 1. 2. 3. 7 April 200\14

16 การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design)
การสร้างสื่อประสานกับผู้ใช้ให้มีคุณภาพ และประสบความสำเร็จ ผู้สร้างมักต้องพบกับความซับซ้อนของปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ความซับซ้อนของเทคโนโลยี ความซับซ้อนทางด้านจิตวิทยา ความซับซ้อนทางด้านฟิสิกส์ และความซับซ้อนของปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ อีกมากมาย ผู้ออกแบบควรคำนึงถึงและพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. คำนึงถึงขณะที่ผู้ใช้กำลังปฏิบัติงานจริงกับระบบ 2. คำนึงถึงเวลาที่ใช้ในการเรียนรู้การใช้ระบบ 3. คำนึงถึงความสามารถรอบด้านที่ต้องปรับให้เข้ากับระบบอื่น ๆ ด้วย 7 April 200\14 16

17 การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design)
4. คำนึงถึงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยตัวผู้ใช้เอง 5. คำนึงถึงคุณภาพของเครื่องมือที่ผู้ใช้จะหยิบใช้ 6. สามารถใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ได้อย่างลงตัว โดยไม่มีปัญหาเรื่องฮาร์ดแวร์ 7. คำนึงถึงระดับความต้องการของผู้ใช้ 8. คำนึงถึงความอ่อนล้าของระบบที่เกิดจากการใช้งานติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ 9. คำนึงถึงมาตรฐานการใช้คำสั่งที่ต้องมีความเหมือนกัน และความสนุกสนานเมื่อใช้งานระบบอยู่ 7 April 200\14 17

18 การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design)
10. การเลือกใช้อุปกรณ์ Input และ Output ที่ดี รวมไปถึงการออกแบบหน้าจอการทำงานให้สวยงามดูน่าใช้ 11. ลำดับขั้นตอนการใช้โปรแกรมต้องไม่ซับซ้อน และสามารถรองรับจำนวนสารสนเทศที่ผ่านเข้า – ออกได้อย่างเหมาะสม 12. พิจารณาเลือกใช้ไอคอน และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสม โดยผู้ใช้จะต้องเข้าใจรูปแบบการแสดงผลสารสนเทศได้อย่างง่ายดาย 7 April 200\14 18

19 รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode)
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ เป็นการออกแบบจอภาพเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับระบบได้ตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ ในปัจจุบันนิยมใช้การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface) ซึ่งสามารถสื่อสารกับผู้ใช้ในรูปแบบข้อความและรูปภาพต่าง ๆ ทำให้ใช้งานง่าย และเรียนรู้ได้รวดเร็ว 7 April 200\14

20 รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode)
สำหรับรูปแบบการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ดังต่อไปนี้ การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction) 7 April 200\14

21 รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode)
การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบโดยที่ผู้ใช้จะต้องพิมพ์คำสั่งลงในช่องป้อนคำสั่ง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการทำงานในระบบ จึงเหมาะสำหรับผู้ใช้ที่มีความชำนาญในการใช้ระบบ 7 April 200\14

22 รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode)
การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบด้วยการแสดงเมนูคำสั่งให้ผู้ใช้เลือกคำสั่งใด ๆ เพื่อติดต่อกับระบบโดยผู้ใช้ไม่ต้องป้อนคำสั่งเอง ดังนั้นจึงได้รับความนิยมในด้านของความง่ายในการใช้งานและการทำความเข้าใจ Pull-down Menu 7 April 200\14

23 การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction)
7 April 200\14

24 การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction)
เป็นการโต้ตอบกับระบบที่ใช้สัญลักษณ์ ใช้รูปภาพแทนคำสั่งทำงาน หรือเรียกว่า “ไอคอน (Icon)”

25 การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction)
Check You got 10 Read First From … Subject … Detail …

26 การออกแบบการจัดวางและการแสดงผล (Layout and Display Design)
การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลแต่ละราย โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) การแสดงผลแบบมีสีและขาวดำ 7 April 200\14

27 การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์
Title Zone Menu Zone Tools Zone Body Zone Message/Status Zone

28 การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์
Title Zone Menu Zone Tools Zone Body Zone Message/Status Zone 7 April 200\14

29 การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลแต่ละราย
เราต้องกำหนดลำดับในการป้อนข้อมูลให้สอดคล้อง ไม่ควรกำหนดลำดับสลับไปมาโดยไม่มีนัยสำคัญ 7 April 200\14

30 โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry)
การกำหนดค่าเริ่มต้น (Default) หน่วยของข้อมูล (Unit) คำอธิบายต่างๆ (Caption) รูปแบบ (Format) การจัดวาง (Justify) ส่วนช่วยเหลือ (Help) การติดต่อกับผู้ใช้ในการป้อนข้อมูลด้วยกราฟิก (Graphic User Interface : GUI) 7 April 200\14

31 (Graphic User Interface : GUI) ตัวอย่างการออกแบบ
Label Text box Radio Button Check box 7 April 200\14

32 การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback)
ในระหว่างการใช้งานระบบของผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการป้อนข้อมูล การค้นหาข้อมูล หรือสั่งพิมพ์รายงานจากโปรแกรม นักพัฒนาระบบควรออกแบบ ให้โปรแกรมมีการตอบสนองต่อการสั่งงานดังกล่าว หรือตอบสนองต่อผู้ใช้งานเมื่อมีข้อผิดพลาดใด ๆ เกิดขึ้น เพื่อไม่ให้ผู้ใช้สับสน การตอบสนองของระบบ (System Feedback) มี 3 ชนิด  1. การแจ้งสถานะการทำงาน (Status Information) 2. การแสดงความพร้อมในการรับคำสั่ง (Prompting Cues) 3. ข้อความแจ้งเตือนเมื่อมีข้อผิดพลาด (Error/ Warning Messages) 7 April 200\14

33 ข้อความแจ้งเตือนหรือมีข้อผิดพลาด (Error/ Warning Messages)
เราจำเป็นต้องมีการแจ้งเตือน เมื่อมีการทำงานที่ต้องการยืนยัน หรือในกรณีที่เกิดข้อผิดพลาดขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้ได้ทราบ และทำการตัดสินใจ ผิด ถูก 7 April 200\14

34 การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help)
สามารถเข้าใจได้ง่าย (Simplicity) มีการจัดรูปแบบอย่างเป็นระเบียบ มีการแสดงตัวอย่าง (Show) 7 April 200\14

35 รูปแบบอื่น ๆ ของสื่อประสานกับผู้ใช้
นอกจากรูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ที่กล่าวมาแล้ว เช่น การโต้ตอบด้วยคำสั่ง แบบฟอร์ม และ เมนู แล้วยังมีการโต้ตอบแบบอื่น ๆ ที่มีความทันสมัยมากขึ้น ช่วยสร้างความสมจริงในการใช้ระบบของผู้ใช้มากขึ้น เช่น 1. กราฟิก (Graphics) 2. มัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์ (Multimedia and Hypertext) 3. ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality System) 4. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) 7 April 200\14

36 กราฟิก (Graphics) เป็นการนำเสนอข้อมูลหรือผลลัพธ์ด้วยรูปภาพหรืออาจเป็นรูปภาพผสมข้อความ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทราบความหมายของข้อมูลและสารสนเทศที่นำเสนอได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 7 April 200\14

37 มัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์ (Multimedia and Hypertext)
มัลติมีเดีย (Multimedia) มักเป็นการกล่าวถึงประโยชน์โดยรวมของสื่อมากมาย เช่น เสียง (Sound) ข้อความ (Text) ภาพกราฟิกต่างๆ (Graphics) รวมถึงสื่อชนิดอื่นๆ ด้วย ไฮเปอร์เท็กซ์ คือ ข้อความหรือกลุ่มของข้อความ ที่ทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่อข้อมูล จากเอกสารหน้าหนึ่งไปสู่เอกสารอีกหน้าหนึ่ง ซึ่งการเชื่อมโยงนี้เป็นการเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลอื่นๆ Hypertext 7 April 200\14

38 ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality System)
ระบบความเป็นจริงเสมือน หมายถึง ระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้ระบบเคลื่อนไหว และมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม ที่ถูกจำลองขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ได้ 7 April 200\14

39 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing)
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ เป็นการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence AI) มาประยุกต์ใช้เพื่อให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้คำพูดภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆ ที่ได้รับการพัฒนา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย เป็นต้น โดยอาจพูดผ่านอุปกรณ์ไมโครโฟน เพื่อนำสัญญาณเสียงพูดของผู้ใช้เข้าสู่ระบบประมวลผลภาษาธรรมชาติ 7 April 200\14

40 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่มีพื้นฐานการทำงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ การจัดการกับข้อมูลที่ได้มาให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ (Capturing) การจัดเก็บ (Storing) การตรวจสอบ (Checking) การประสาน (Integrating) การจัดกระทำ (Manipulating) การแสดงผล (Display) ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือแสดงผลเป็นแผนที่ (Mapping) ได้ 7 April 200\14

41 องค์ประกอบหลักของ GIS
การนำเข้าข้อมูล (Data Input) การจัดการข้อมูล (Data Management) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) การแสดงผล (Data Display) 7 April 200\14

42 GIS Database ฐานข้อมูลที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บแผนที่ ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บรายละเอียด หรือสารสนเทศบนแผนที่ 7 April 200\14

43 20 October 2010

44 คำถามท้ายบทที่ 5 1. สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface) คืออะไร
2. องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ มีอะไรบ้าง 3. คุณลักษณะที่ดีของสื่อประสานกับผู้ใช้เป็นอย่างไร 4. สื่อประสานกับผู้ใช้ที่มีความทันสมัย ที่จะช่วยสร้างความสมจริงในการใช้ระบบมากขึ้น ควรมีอะไรบ้าง 13 October 2007

45 ส วั ส ดี 20 October 2010 wichai@buu.ac.th 27 March 2001


ดาวน์โหลด ppt 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google