ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดย御 暨 ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรงพยาบาลท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช
2
คำสำคัญ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หมายถึงโรคที่ วินิจฉัย รหัส ICD 10 ในระบบรายงาน A50-A53และ A54-A63 ระบบ หมายถึง ระบบการดูแล ในโรงพยาบาล จากทุกแผนกที่เกี่ยวข้อง มาตรฐาน หมายถึง แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ 2553และ 2558 การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้ติดตามในกลุ่มโรค ซิฟิลิส และหนองใน
3
สรุปผลงานโดยย่อ มีการนำปัญหาจากการทบทวนกระบวนการดูแลผู้ป่วยไปชี้แจงในทีมนำการดูแลผู้ป่วย ของโรงพยาบาลมีการประชุมเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลและร.พ.สต. มีโครงการจัดตั้งคลินิกให้บริการปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (คลินิกนิรนาม) เพื่อบริการ ในโรงพยาบาล และมีแนวทางในการคัดกรองและส่งต่อจาก พยาบาลคัดกรอง แผนกผู้ป่วยนอก
4
ป้ายประชาสัมพันธ์
5
หน่วยงาน กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช
6
สมาชิกทีม นายสากล คมขำ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางอุดมรัตน์ อมรจรรยาพันธ์ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสายพิณ จันทวี พยาบาลศาสตรบัณฑิต ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
7
เป้าหมาย(30 กัยายน 2559) ผู้ป่วยนอกที่มีความเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย พร้อมคู่ ได้รับการดูแลตามมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์พ.ศ. 2558 ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้รับการคัดกรองเพื่อส่งต่อคลินิกให้คำปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (คลินิกนิรนาม) ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 90
8
เป้าหมาย(ต่อ) 3.ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และมีความเสี่ยง ได้รับถุงยางอนามัย ร้อยละ 90 4.ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้รับการเชิญชวนให้ตรวจหาการติดเชื้อ เอช ไอ วีและ ร้อยละ 90
9
เป้หมาย(ต่อ) 5.การบันทึกเวชระเบียน สมบูรณ์ ร้อยละ 90 -ครอบคลุมความเสี่ยง เรื่องคู่ -การตรวจทางห้องปฏิบัติการ -การรักษา( ยา ) -การให้ความรู้/จ่ายถุงยางอนามัย -การฝากยาให้คู่ กรณีที่ไม่พาคู่มาด้วย/การติดตาม 6.ได้รับคำแนะนำให้คู่ประจำของผู้ที่มีความเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย มารับ บริการตรวจรักษา ร้อยละ 90
10
ปัญหาและสาเหตุ โดยย่อ
1.จากการทบทวนเวชระเบียน ปี ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ตามแนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ ดังนี้
11
จำนวนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน( 2553) จำนวนร้อยละสอดคล้องกับมาตรฐาน(2553)
รายงานการทบทวน รายงานการทบทวน ปี 2557 จำนวนที่ทบทวนเวชระเบียน จำนวนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน( 2553) จำนวนร้อยละสอดคล้องกับมาตรฐาน(2553) หมายเหตุ การซักประวัติครอบคลุม 37 30 81 ได้ตรวจทางห้องปฏิบัติการ 17 7 41 การรักษาตามมาตรฐาน(ยา) 32 86 การให้ความรู้ 25 67 จ่ายถุงยางอนามัย 16 43 การฝากยากรณีคู่ไม่มาตรวจ 11 การติดตาม 18 นัดติดตามตรวจVDRL.TPHA
12
พบปัญหาผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี รายใหม่ เคยผ่านการรักษา ซิฟิลิส และเป็นซ้ำ มาก่อนโดยมีการทบทวนการให้บริการจากคลินิกผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ และนำปัญหาเข้าสู่ ทีมนำ ระบบการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลเกี่ยวกับมาตรฐานการดูและผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ มีการประชุมเพื่อหาแนวทางพัฒนาระบบการดูแล และได้รับการประเมินการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เมื่อ 17 เมษายน 2558 และได้วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน รวมถึงได้นำคำเสนอแนะจากการประเมินมาพัฒนา ระบบการดูแลเพื่อพัฒนา
13
กิจกรรมการพัฒนา ปี พ.ศ2557 -ตรวจสอบระบบรายงาน 506 /ทบทวนเวชระเบียน รายงานปัญหาในกลุ่มงาน -รายงานข้อไม่สอดคล้องในระบบการดูแลผู้ป่วย(PCT) โรงพยาบาล -ประชุมทีมผู้ป่วยนอก และทีมดูแลกลุ่มโรคติดต่อ
14
กิจกรรมการพัฒนา ปี พ.ศ. 2558 - ทบทวนเวชระเบียน
-จัดทำแนวทางระบบการส่งต่อจากแผนกผู้ป่วยนอกเพื่อให้คำปรึกษา และจ่ายถุงยางอนามัย -รับการประเมิน -ประชุมเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลและเครือข่าย รพ.สต.เพื่อฟังผลสรุป การประเมินมาตรฐานการบริการ จากสคร. 11 -สรุปผลการหารูปแบบพัฒนาระบบบริการตามมาตรฐาน STIs
15
กิจกรรมการพัฒนา ปี พ.ศ. 2559 -เขียนโครงการเปิดคลินิกบริการปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(นิรนาม) ให้บริการ ทุกวัน บริการ - -พัฒนาระบบคัดกรองผู้ป่วยนอก โดยมีแบบคัดกรองโดยพยาบาลประจำจุดคัดกรอง -มีระบบโทรแจ้งก่อนส่งต่อกรณีพบรายที่สงสัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ -มีบริการเชิงรุก โดยใช้ยุทธสาตร์ RRTTR ในกลุ่มพนักงานบริการหญิง(FSW) -ทบทวนเวชระเบียน
16
การวัดผลและการพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง
การวัดผลและการพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง กิจกรรมทบทวน จำนวนเวชระเบียนที่ทบทวน2558 จำนวนที่สอด คล้อง ร้อยละ จำนวนเวชระเบียนที่ทบทวน ถึงมิ.ย.2559 หมายเหตุ การซักประวัติครอบคลุม 53 45 84 37 32 86 ได้ตรวจห้องปฏิบัติการ 28 22 78 15 13 86.6 การรักษา(ยา) 46 86.7 35 94.5 การให้ความรู้ 69.8 30 81.0 จ่ายถุงยางอนามัย 52.8 25 67.5 การฝากยาให้คู่ 9 2 22.2 14 4 28.5 ให้คำปรึกษาก่อนตรวจเอช ไอวี N 12 32.4 การวัดผลและการพัฒนา
17
การวัดผลการเปลี่ยนแปลง ปี 2559
เป้าหมาย กลุ่มเป้า หมาย จำนวนที่สอดคล้อง ร้อยละ หมายเหตุ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งต่อ เข้าคลินิกให้คำปรึกษานิรนาม100% 37 20 54.0 ความสมบูรณ์เวชระเบียน 90% 30 81
18
บทเรียนที่ได้รับ ได้รับการตรวจเพื่อหาการติดเชื้อ เอช ไอ วี ต่ำ เนื่องจากแผนกผู้ป่วยนอกไม่ส่งต่อคลินิกนิรนามเนื่องจากมีข้อจำกัด กรณีผู้ป่วยมาพบแพทย์ นอกเวลาราชการ ต้องมีการติดตามกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัย เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รายที่แพทย์ไม่นัดติดตามอาการ เพื่อรับบริการปรึกษา และเจาะเลือด หาการติดเชื้อ HIV และVDRL เละเพิ่มช่องทางการเข้าถึงถุงยางอนามัย เพิ่มขึ้น
19
ขอบคุณทุกกำลังใจ สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.