ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยบุษราคัม บุตโต ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
รศ.ดร. ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยลัย ธรรมศาสตร์
Thammasat Economic Focus (TEF) ครั้งที่ 14 ปฏิรูปการศึกษา เดินหน้าประเทศไทย ปฏิรูปการเงินเพื่อความเป็นธรรม รศ.ดร. ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยลัย ธรรมศาสตร์ 27 สิงหาคม 2561
3
ข้อสังเกตภาพรวมระดับการใช้จ่าย
ประเทศไทยมีการลงทุนด้านการศึกษาสูง 9 แสนล้าน ร้อยละ 6.1 ของจีดีพี แสดงว่าไม่ได้ขาดแคลน ทรัพยากร แผนงานด้านการศึกษา ได้รับงบประมาณแผ่นดินสูงสุด กว่าร้อยละ 20 ตั้งแต่ปฏิรูปปี 2542 ภาครัฐใช้จ่ายสูง แต่มีประสิทธิผลต่ำ เพราะยังเห็น ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา (ทั้งในด้านโอกาส และ คุณภาพ) คุณภาพเฉลี่ยต่ำ และประสิทธิภาพการใช้ งบประมาณต่ำ การจัดการศึกษาพื้นฐาน ใช้งบประมาณราวสามแสน ล้านบาท กว่าสองแสนล้าน หรือร้อยละ 80 เป็นงบคน ปัจจุบัน ครูได้รับผลตอบแทนสูง มีการแข่งขันเพื่อสอบบรรจุครู ในโรงเรียนของรัฐ ครูราวสามในสี่ ได้รับเงิน ค่าตอบแทนและวิทยะฐานะระดับชำนาญการและชำนาญ การพิเศษ และสิทธิประโยชน์ของข้าราชการ สองหมื่นล้านบาท หรือร้อยละ 7 เป็นงบค่าบริหาร จัดการของระบบ (ส่วนกลางและเขตพื้นที่การศึกษา) สี่หมื่นล้านบาท หรือร้อยละ 13 ให้โรงเรียนจัดการ เรียนการสอน แจกผู้ปกครอง แจกนักเรียน (โครงการ เรียนฟรี 7 รายการ)
5
ข้อสังเกตแนวทางการจัดสรรงบประมาณ
เน้นเท่าเทียมเป็นหลัก เพราะ ข้อกฏหมาย และความสะดวก ในแนวปฏิบัติ หลายเรื่องไม่มีความจำเป็น เช่น แจกหนังสือ เรียน ให้เสื้อผ้าและอุปกรณ์การเรียน ให้กับนักเรียนทุกคน แต่ให้ความสำคัญเพื่อลดความเหลื่อมล้ำไม่มากเพียงพอ เช่น สพฐ ใช้ประมาณ หนึ่งหมื่นล้านบาท สำหรับเด็กกลุ่มต่างๆ (พิการ ด้อยโอกาส ยากจน ห่างไกล ตกหล่น ออก กลางคัน) แต่เป็นงบอุดหนุนประมาณ เพียงสามพันล้านบาท ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องโดยตรงจากภาระด้านงบบุคลากร งบประมาณที่เหลือเพื่อใช้ในลดความเหลื่อมล้ำ จะเพิ่มได้ อย่างไร หากวงเงินรวมของสพฐ.ไม่เพิ่ม ทางออก พิจารณางบดำเนินงาน ที่เป็นการทำงานโครงการ จำนวนมากของส่วนกลาง เป็นภาระของโรงเรียน และมักไม่ สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ เพราะขาดข้อมูลเชิงลึกใน ระดับพื้นที่ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ พิจารณาปรับสูตรจัดสรรเงินรายหัว ที่เน้นความจำเป็นของ นักเรียน และความแตกต่างของพื้นที่ และปรับสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับขนาดของโรงเรียน โรงเรียน ขนาดใหญ่และใหญ่พิเศษได้เปรียบ เกิดแรงดูด ทำให้ดึงเด็ก ออกจากพื้นที่บริการ ทำให้โรงเรียนขนาดเล็กมีจำนวนเพิ่มขึ้น ไม่สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ (กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มเสี่ยง)
6
ข้อสังเกตเชิงระบบ ศึกษาวิธีการแก้เชิงระบบ ที่ส่งผลอย่างมี นัยสำคัญ ต่อการลดความเหลื่อมล้ำ มีนโยบายที่ต่อเนื่องในการช่วยเหลือโรงเรียน ขนาดเล็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล และลดการ สนับสนุนโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่มีความจำเป็น สามารถใช้ทรัพยากรร่วม ระดมทรัพยากรจากชุมชน ปจบ.โรงเรียนขนาด ใหญ่ระดมได้มาก เพราะผู้ปกครองมีฐานะ ปลดล็อคการสนับสนุนจากอปท. เช่น เงินอาหาร เช้า บริการรถสาธารณะ บูรณาการการวางแผนการรับนักเรียนในระดับ พื้นที่ ปัจจุบันทุกหน่วย น่าจะมีขนาดห้องเรียน ที่มากเกินความจำเป็น ระบบปัจจุบัน การ แข่งขันไม่ได้ทำให้โรงเรียนรัฐที่ขาดประสิทธิภาพ ปิดตัวเอง ศึกษาแนวทางการเกลี่ยอัตรากำลังคน ให้ สอดคล้องกับความจำเป็น ในช่วงเวลานี้เป็น นาทีทอง เพราะจะมีการเกษียณอายุ เกือบแสน คน ในช่วงห้าปี แก้ระบบแรงจูงใจ เพื่อให้ครูและผู้บริหารที่ ทำงานในพื้นที่กันดารห่างไกล
8
นวัตกรรมใหม่
11
ที่รุนแรงที่สุด ที่คุณจะเอาไว้เปลี่ยนแปลงโลก ”
“ การศึกษาคืออาวุธ ที่รุนแรงที่สุด ที่คุณจะเอาไว้เปลี่ยนแปลงโลก ” Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.