ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยฤทัย เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
บทบาทอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการบริหารจัดการองค์กรตามภารกิจถ่ายโอน ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
2
กรอบแนวคิด การดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญ แผนพัฒนาระดับชาติ นโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์จังหวัด นโยบายของผู้บริหาร อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย แผนพัฒนา ท้องถิ่น ผู้บริหาร ผู้บริหาร/สภา ผู้บริหาร / พนักงาน ติดตามประเมินผล การปฏิบัติ งบประมาณ ผู้บริหาร/สภา ส่วนราชการ สภา ประชาชน กฎหมาย ข้อบัญญัติ
3
ประเด็นสำคัญในการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาด ให้เหมาะสม เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การบริการประชาชน พัฒนาให้ระบบราชการเป็นระบบเปิด ยกระดับ ขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงาน
4
ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจ
5
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ มีบทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ในหลักการที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. รัฐต้องมีนโยบายกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น 2. ให้ความสำคัญกับความเป็นอิสระของท้องถิ่น 3. กระบวนการกระจายอำนาจต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาเพิ่มขึ้นตามลำดับ 4. ให้ความสำคัญกับสิทธิของประชาชนต่อการมีส่วนร่วม ในการปกครองท้องถิ่นและการดำเนินงานของรัฐ
6
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ มีบทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น 1. ให้ อปท. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะ 2. กำกับดูแลเท่าที่จำเป็น มีมาตรฐานกลางในการกำกับดูแล 3. กลไกในการตรวจสอบโดยภาคประชาชนเป็นหลัก 4. อปท. จะต้องกำหนดนโยบายและการบริหารให้สอดคล้องกับ การพัฒนาจังหวัด 5. ร่วมกันจัดตั้ง “สหการ” เพื่อจัดทำบริการสาธารณะ 6. จัดทำ ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับ อปท. จำนวน 10 ฉบับ
7
ที่มาของอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- กฎหมายว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กม.จัดตั้ง) - โครงสร้าง ที่มาของผู้บริหาร / สมาชิกสภา - อำนาจหน้าที่ (ต้องทำ / อาจจัดทำได้) - รายได้ (ที่มา / อำนาจการจัดเก็บ) - การบริหารงาน (การประชุมสภา / การจัดทำงบประมาณ ฯลฯ) - การตรวจข้อบัญญัติท้องถิ่น - การกำกับดูแล
8
- กฎหมายเฉพาะเรื่องที่ให้อำนาจหน้าที่แก่ อปท.
- กฎหมายเฉพาะเรื่องที่ให้อำนาจหน้าที่แก่ อปท. - ขอบเขตการบังคับใช้ - ผู้รักษาการ / การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กระบวนการดำเนินการและเงื่อนไข (การพิจาณาอนุมัติ / อนุญาต / อุทธรณ์) การตรากฎหมายระดับรอง การจัดเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต บทลงโทษ
9
กฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอน ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
การกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
10
การกำหนดอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ คือ
เทศบาล เมืองพัทยาและ อบต. มีอำนาจหน้าที่จัดบริการสาธารณะ จำนวน 31 ประการ อบจ. มีอำนาจหน้าที่จัดบริการสาธารณะ จำนวน 29 ประการ กทม. มีอำนาจหน้าที่จัดบริการสาธารณะตามเทศบาล เมืองพัทยา อบต. และ อบจ.
11
กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17)
อำนาจหน้าที่ของ อปท. ตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17) เทศบาล, อบต. (ตามมาตรา 16) อบจ. (ตามมาตรา 17) 1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 2. การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำและทางระบายน้ำ 3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้ามและที่จอดรถ 4. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ 5. การสาธารณูปการ 6. การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ 7. การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน 1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและประสานการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด 2. การสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น 3. การประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าส่วนท้องถิ่นอื่น 4. การแบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
12
กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17)
เทศบาล, อบต. (ตามมาตรา 16) อบจ. (ตามมาตรา 17) 8. การส่งเสริมการท่องเที่ยว 9. การจัดการศึกษา 10. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส 11. การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 12. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 13. การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อน 5. การคุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาป่าไม้ ที่ดิน 6. การจัดการศึกษา 7. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคและเสรีภาพของประชาชน 8. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น 9. การส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม 10. การจัดตั้งและดูแลระบบบำบัดน้ำเสียรวม 11. การกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลรวม
13
กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17)
เทศบาล, อบต. (ตามมาตรา 16) อบจ. (ตามมาตรา 17) 14. การส่งเสริมกีฬา 15. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคและเสรีภาพของประชาชน 16. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น 17. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง 18. การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย 12. การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ 13. การจัดการดูแลสถานีขนส่งทั้งทางบกและ ทางน้ำ 14. การส่งเสริมการท่องเที่ยว 15. การพาณิชย์ การส่งเสริมการลงทุน และการทำกิจกรรมไม่ว่าจะดำเนินการเองหรือร่วมกับบุคคลอื่นหรือจากสหการ 16. การสร้างและบำรุงรักษาทางบกทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
14
กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17)
เทศบาล, อบต. (ตามมาตรา 16) อบจ. (ตามมาตรา 17) 19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและ การรักษาพยาบาล 20. การจัดให้มีและควบคุมสุสาน และณาปนสถาน 21. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ 22. การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ 23. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ 17. การจัดตั้งและดูแลตลาดกลาง 18. การส่งเสริมการกีฬา 19. การจัดให้มีโรงพยาบาลจังหวัด การ รักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ 20. การจัดให้มีพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ 21. การขนส่งมวลชนและการวิศวกรรมจราจร 22. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 23. การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อยใน จังหวัด
15
กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17)
เทศบาล, อบต. (ตามมาตรา 16) อบจ. (ตามมาตรา 17) 24. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 25. การผังเมือง 26. การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร 27. การดูแลรักษาที่สาธารณะ 28. การควบคุมอาคาร 29. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 24. จัดทำกิจการใดอันเป็นอำนาจและหน้าที่ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ในเขตและกิจการนั้นเป็นการสมควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดำเนินการหรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดทำ ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด 25. การสนับสนุนหรือช่วยเหลือส่วนราชการ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนา ท้องถิ่น
16
กรุงเทพมหานคร (ตามมาตรา 16 และมาตรา 17)
เทศบาล, อบต. (ตามมาตรา 16) อบจ. (ตามมาตรา 17) 30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 31. กิจการอื่นใด ที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด 26. การให้บริหารแก่เอกชน ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 27. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส 28. จัดทำกิจการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด 29. กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
17
แผนภูมิแสดงการทับซ้อนของอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กับ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล
ตามกฎหมายจัดตั้ง อปท. แต่ละรูปแบบ และพ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 อำนาจหน้าที่ของ อบจ. 38 ประการ ประสานการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่ ครม. กำหนด - สนับสนุน อปท. อื่นในการพัฒนาท้องถิ่น - สนับสนุนหรือช่วยเหลือส่วนราชการหรืออปท.ในการพัฒนาท้องถิ่น - ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของ อปท. - แบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่ อปท. - ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม - จัดตั้งและดูแลระบบบำบัดน้ำเสียรวม - จัดการทัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ ระดับจังหวัด - จัดการดูแลสถานีขนส่งทั้งทางบกและทางน้ำ - สร้างและบำรุงรักษาทางบกทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่าง อปท. - จัดให้มีโรงพยาบาลจังหวัด ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ - จัดให้มีพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ - จัดตั้งและดูแลตลาดกลาง - การให้บริการแก่เอกชน ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ อปท. - รักษาความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน - จัดทำกิจการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย - จัดทำกิจการใดอันเป็นอำนาจและหน้าที่ของ อปท.ที่อยู่ในเขต และกิจการนั้นเป็นการสมควรให้ อปท.อื่นร่วมกันดำเนินการ หรือให้ อบจ. จัดทำ ทั้งนี้ ตามกฎกระทรวง อำนาจหน้าที่ของเทศบาล, อบต. 33 ประการ - ปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย - จัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ - ดูแลรักษาที่สาธารณะ - ควบคุมอาคาร - สาธารณสุข การอนามัยครอบครัว - จัดให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ - การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ - การฝึกการประกอบอาชีพ - รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง - จัดให้มีและควบคุมสุสาน และณาปนสถาน - ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ - รักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพและสาธารณสถานอื่นๆ ความซ้ำซ้อนระหว่าง อบจ. เทศบาล และ อบต. 21 ประการ - จัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง - จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ - การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้ามและที่จอดรถ - กำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย - ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร - การส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพ - จัดการศึกษา - ส่งเสริมการท่องเที่ยว - การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส - การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - จัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อน - บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น - การรักษาพยาบาล - การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น -ส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคและเสรีภาพ ของประชาชน - วางผังเมือง - ส่งเสริมกีฬา - การสาธารณูปการ
18
คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.
จากรัฐธรรมนูญ พ.ศ มาตรา 284 ทำให้มีการตรากฎหมายแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ ขึ้น มีสาระสำคัญ คือ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. องค์ประกอบคณะกรรมการฯ ประกอบด้วย ตัวแทนส่วนราชการ จำนวน คน ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน คน ผู้แทน อปท จำนวน คน
19
2. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ คือ การพิจารณากำหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่อง
- การถ่ายโอนภารกิจการให้บริการสาธารณะจากรัฐสู่ อปท. - การปรับปรุงสัดส่วนภาษีอากรระหว่างรัฐกับ อปท. และ การกำหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรภาษีอากรและรายได้อื่นๆ แก่ อปท. - การถ่ายโอนบุคลากรจากส่วนราชการสู่ท้องถิ่น - การเสนอให้มีการตรากฎหมาย หรือแก้ไขกฎหมายเพื่อ กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
20
3. กำหนดแหล่งที่มาของรายได้ท้องถิ่นไว้เพิ่มขึ้นกว่าเดิม
อปท. อาจมีรายได้จากภาษีอากรค่าธรรมเนียมและเงินรายได้ เช่น ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ ฯลฯ
21
4. กำหนดให้มีการจัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท
4. กำหนดให้มีการจัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. แผนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดกรอบแนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการกระจายอำนาจที่สำคัญ 5 เรื่อง คือ กำหนดขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ กำหนดขอบเขตอำนาจและหน้าที่ การดำเนินการปรับปรุงรายได้ การเตรียมความพร้อมของท้องถิ่น การแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
22
แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.
จัดทำขึ้นตาม มาตรา 32 ของ พ.ร.บ. แผนฯ โดยกำหนดรายละเอียดและขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจไว้ คือ มีภารกิจที่ต้องถ่ายโอน 6 ด้าน จำนวน ภารกิจ จากส่วนราชการ 57 กรม กระทรวง ระยะเวลาในการรับโอน พ.ศ และ พ.ศ
23
ภารกิจที่ต้องถ่ายโอน 6 ด้าน
ภารกิจที่ต้องถ่ายโอน ด้าน ด้านโครงสร้างพื้นฐาน จำนวน ภารกิจ ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต จำนวน ภารกิจ ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย จำนวน ภารกิจ ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว จำนวน ภารกิจ ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม จำนวน ภารกิจ ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 2 ภารกิจ
24
ผลการถ่ายโอนภารกิจ
25
ผลการถ่ายโอนภารกิจ การถ่ายโอนด้านภารกิจ - ถ่ายโอนแล้ว 180 ภารกิจ
- ถ่ายโอนแล้ว ภารกิจ - ยังไม่ถ่ายโอน ภารกิจ
26
ภารกิจที่ถ่ายโอนแล้ว
การถ่ายโอนภารกิจ ด้านภารกิจ จำนวนทั้งหมด ภารกิจที่ถ่ายโอนแล้ว โครงสร้างพื้นฐาน ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญา ท้องถิ่น 87 103 17 19 2 71 69 9 14 15 รวม 245 180
27
สรุปภาพรวมถ่ายโอนบุคลากร
การถ่ายโอนด้านบุคลากร สรุปภาพรวมถ่ายโอนบุคลากร ประเภท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ รวม 1. ข้าราชการทั่วไป 1,378 3,081 4,459 2. ข้าราชการครู 3,781 97 3,878 3. ข้าราชการด้านสาธารณสุข 64 12 76 5,223 3,190 8,413
28
สัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้ของรัฐบาลปี 2543 - 2551
หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี รายได้ท้องถิ่น รายได้รัฐบาล สัดส่วนรายได้ท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาล (ร้อยละ) 2543 2544 99,936 156,531 749,948 772,574 13.33 20.57 2545 176,155 803,651 21.99 2546 184,066 829,496 22.19 2547 241,947 1,063,600 22.75 2548 293,750 1,250,000 23.50 2549 327,113 1,360,000 24.10 2550 357,424 1,420,000 25.17 2551 376,740 1,495,000 25.20
29
พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549
มาตรา 30 (4) “กำหนดการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุน และรายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินการตามอำนาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทอย่างเหมาะสม โดยตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ เป็นต้นไป ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้า และโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึ้นคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้า โดยการจัดสรรสัดส่วนที่เป็นธรรมแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคำนึงถึงรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นด้วย
30
การเพิ่มสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลตามวรรคหนึ่งให้เพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่เหมาะสมแก่การพัฒนาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินกิจการบริการสาธารณะได้ด้วยตนเอง และให้เป็นไปตามภารกิจที่ถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ถ่ายโอนเพิ่มขึ้นภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ เป็นต้นไป แต่ไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใดเงินอุดหนุนที่จัดสรรให้ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่าเงินอุดหนุนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549”
31
โครงสร้างรายได้ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
รายได้รวมทุกประเภท 400, (25.25%) จัดเก็บเอง 38,748.96 รัฐจัดเก็บให้ 139,192.79 รัฐแบ่งให้ (VAT พ.ร.บ.แผน ฯ) 71,900 เงินอุดหนุน 150,500 กทม ,420.84 เมืองพัทยา ,494.74 อบจ./เทศบาล/อบต ,584.41 อุดหนุนทั่วไป ,099.78 อุดหนุนเฉพาะกิจ ,484.64
32
เงินอุดหนุนให้ อปท. ปี 2552 134,584.42 (98.87%)
1. เงินอุดหนุนทั่วไป ,099.78 (1)สำหรับดำเนินการตามอำนาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอน ,233.60 (2) ชดเชยค่าโดยสารรถไฟครึ่งราคา (3) บริการสาธารณสุข 1,155.04 (4) อาหารเสริม (นม) 7,938.90 (5) อาหารกลางวัน ,133.30 (6) สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก 4,223.91 (7) บริหารสนามกีฬา (8) เบี้ยยังชีพคนชรา ,970.74 (9) เบี้ยยังชีพคนพิการ 1,532.85 (10) เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ (11) ศูนย์บริการทางสังคม (12) สถานสงเคราะห์คนชรา (13) การศึกษาปฐมวัย (งด. รห.) (14) การศึกษาภาคบังคับ (งด. รห.) 8,180.22 (15) การศึกษา ม.ปลาย (งด. รห.) (16) ส่งเสริมคุณภาพชีวิต 5 จว. ภาคใต้ (17)ชดเชยรายได้ 5 จว. ชายแดนภาคใต้ (18) โครงการฟื้นฟูและพัฒนาสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (19) โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการชุมชนของ อปท 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ,484.64 (1) ก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน (2) งานสูบน้ำด้วยไฟฟ้าของสถานีสูบน้ำ (3) ถ่ายโอนบุคลากร ,765.37 (4) การบำรุงรักษาสิ่งแวดล้อม (5) รางวัลจูงใจให้เพิ่มประสิทธิภาพ (6) ศึกษาภาคบังคับ (ค่ารักษาพยาบาล) (7) ศึกษาภาคบังคับ (ค่าเช่าบ้าน) (8) ศึกษาภาคบังคับ (บำเหน็จ) ,743.61 (9) ศึกษาภาคบังคับ (ค่าสิ่งก่อสร้าง) ,517.77 (10) บริการสาธารณสุข (ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง) (11) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ค่าครุภัณฑ์) (12) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ค่าสิ่งก่อสร้าง) ,237.00 (13) การศึกษาตามภารกิจถ่ายโอน (ค่าครุภัณฑ์) (14) สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก(ถ่ายโอนจากกรมศาสนา) ,919.80 (15) ผังเมืองรวม/ชุมชน (16) พัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน ,000.00 (17) ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท ,999.95 (18) สนับสนุนแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม ,709.37 (19) แก้ไขการขาดแคลนน้ำ ทน.นครราชสีมา
33
บทบาทของ อปท. ในการบริหารจัดการภารกิจถ่ายโอน
ประสานหน่วยงานที่จะถ่ายโอน ผู้บริหารและพนักงานท้องถิ่นเตรียมความพร้อม - ศึกษากฎหมาย ระเบียบเพิ่มเติม - อบรม - แผนรองรับการถ่ายโอน - จัดสำนักงาน/วัสดุอุปกรณ์ 3. จัดโครงสร้างองค์กรรองรับ
34
4. รับโอน – ขึ้นทะเบียนทรัพย์สิน
5. ตั้งงบประมาณรองรับ 6. จัดบริการสาธารณะให้มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่าที่ราชการเคยจัดทำ บำรุง ดูแลรักษา ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ขยายผล มีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล คุณธรรม นิติธรรม โปร่งใส มีส่วนร่วม คุ้มค่า และ รับผิดชอบ
35
8. ตอบสนองต่อความต้องการและปัญหาของประชาชน
เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน 9. มีปัญหา คณะกรรมการบริหารการถ่ายโอนฯ ระดับจังหวัด หารือกรม, ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ 10. ติดตามและประเมินผล ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
36
บทบาทของภาครัฐในการเตรียมความพร้อมให้ อปท.
1. ส่วนราชการและข้าราชการต้องทำความเข้าใจกับการกระจาย อำนาจและให้การสนับสนุน 2. เตรียมความพร้อมให้ อปท. 2.1 จัดทำคู่มือ , แนวทางการทำงาน 2.2 จัดทำมาตรฐานและตัวชี้วัดการทำงาน 2.3 เป็นพี่เลี้ยงให้ อปท. 3. ให้คำปรึกษา แนะนำ อปท. และติดตาม 4. กระจายงาน เงิน คน สู่ อปท. 5. พัฒนาบุคลากรของ อปท. ทั้งผู้บริหารและพนักงานส่วนท้องถิ่น
37
บทบาทของภาคประชาชน จะต้องมีส่วนร่วมในการบริหารงานของ อปท.
ร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมบำรุงรักษา ร่วมตรวจสอบ ร่วมติดตามประเมินผล
38
ปัญหาอุปสรรคการถ่ายโอนภารกิจ
39
ปัญหา อุปสรรค การถ่ายโอน
1. ด้านภารกิจ 1.1 หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนภารกิจยังไม่ให้ความสำคัญ ทำให้การถ่ายโอนภารกิจล่าช้า 1.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งขาดการเตรียมความพร้อม ในการรองรับการถ่ายโอนภารกิจ 1.3 ภารกิจที่ถ่ายโอนมากเกินไปไม่สอดคล้องกับบุคลากรที่จะปฏิบัติงาน 1.4 หน่วยงานเดิมขาดการแนะนำในการเป็นพี่เลี้ยงให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
40
ปัญหา อุปสรรค การถ่ายโอน
2. ด้านบุคลากร 2.1 บุคลากรที่ถ่ายโอนมีความไม่มั่นใจในสถานภาพ เงินสวัสดิการต่างๆ ที่ได้รับจะเหมือนกับที่ได้รับจากราชการหรือไม่ 2.2 บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถไม่ประสงค์ที่จะถ่ายโอนไปอยู่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพราะคิดว่าขาดการความเจริญก้าวหน้า ในชีวิตราชการ 2.3 บุคลากรที่ถ่ายโอนลงไปขาดขวัญกำลังใจ ไม่คุ้นเคยกับระบบการ ทำงานและวัฒนธรรมของท้องถิ่น 2.4 ก.พ. ไม่ได้ชี้แจงถึงความก้าวหน้าของข้าราชการที่ถูกถ่ายโอน
41
ปัญหา อุปสรรค การถ่ายโอน
3. ด้านงบประมาณ 3.1 งบประมาณที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับไม่เพียงพอต่อภารกิจ ที่ได้รับการถ่ายโอน 3.2 งบประมาณที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเป็นรายได้ของท้องถิ่น เองไม่เพียงพอ ส่งผลให้ท้องถิ่นต้องพึ่งพาเงินอุดหนุนจากรัฐบาล 3.3 การจัดสรรงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความล่าช้า และไม่ตรงกับข้อเท็จจริง 3.4 การใช้จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ให้ ความสำคัญหรือไม่คำนึงถึงภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน
42
แนวทางการแก้ไขปัญหาการถ่ายโอน
ด้านภารกิจ 1. เร่งรัดให้ส่วนราชการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ และ สร้างความพร้อมควบคู่กันไป 2. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการถ่ายโอนภารกิจ บุคลากร และ งบประมาณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับจังหวัด 3. ให้ส่วนราชการที่มีหน้าที่ถ่ายโอนภารกิจเป็นพี่เลี้ยงให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจะต้องจัดให้คำปรึกษา แนะนำ สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
43
1. ในปี 2548 รัฐบาลได้จัดงบประมาณเพื่อสนับสนุนการถ่ายโอน
ด้านบุคลากร 1. ในปี 2548 รัฐบาลได้จัดงบประมาณเพื่อสนับสนุนการถ่ายโอน บุคลากรจำนวน 1,918 ล้านบาท 2. ในปี 2549 รัฐบาลจะจัดงบประมาณเพื่อสนับสนุนการถ่ายโอน บุคลากรจำนวน 1,868 ล้านบาท 3. ขยายเวลาการจัดงบประมาณเงินอุดหนุนเพื่อการถ่ายโอนบุคลากร แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากเดิมที่กำหนดไว้ 5 ปี เป็นให้มี การจัดเงินอุดหนุนเพื่อการนี้ไปจนกว่าบุคลากรที่ถ่ายโอนจะพ้น จากตำแหน่ง
44
1. ปรับปรุงและขยายฐานภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ด้านงบประมาณ 1. ปรับปรุงและขยายฐานภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีของท้องถิ่น 3. ปรับปรุงแนวทางการจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนให้สอดคล้อง กับภาระหน้าที่ 4. ในปีงบประมาณ 2546 ได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจัดสรรภาษีใหม่
45
ทิศทางการปรับปรุงแผนการกระจายอำนาจและแผนปฏิบัติการ
ความชัดเจนในภารกิจที่จะถ่ายโอนให้ อปท. เน้นความเป็นอิสระในการดำเนินการ ควบคู่กับความรับผิดชอบ ต่อประชาชน เร่งพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน ระบบการมีส่วนร่วมของประชาชน แหล่งรายได้ใหม่ที่ยังไม่มีการจัดเก็บตามกฎหมาย การสนับสนุนรัฐบาลเพื่อบรรลุยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
46
แผนการกระจายอำนาจ ฯ (ฉบับที่ 2)
1. ประเด็นสำคัญที่มีการเพิ่มเติม 1.1 ให้มีการบูรณาการการทำงานระหว่าง อปท. และมุ่งให้เกิด “สหการ” 1.2 ให้มีการถ่ายโอนงานของรัฐวิสาหกิจได้เมื่อเป็นนโยบายของรัฐบาล 1.3 ให้ อปท. ได้มีสิทธิประโยชน์หรือค่าตอบแทนจากกิจการที่ อปท ไปสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจในพื้นที่ 1.4 ให้ อบจ. เป็นผู้รับโอนภารกิจที่เกินศักยภาพของ อปท. เล็ก 1.5 งานที่เป็นนโยบายของรัฐบาลให้รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณ 1.6 ให้มีการจัดทำแผนสร้างความพร้อมและแผนการถ่ายโอนที่ชัดเจน
47
1.7 เพิ่มรูปแบบการถ่ายโอนอีก 3 รูปแบบ คือ การซื้อบริการ, สหการ, และการให้สัมปทานกับเอกชน
1.8 ภารกิจถ่ายโอนจากหลายหน่วยงานและมีมาตรฐานหลากหลาย ให้มีการสร้างมาตรฐานกลางในการปฏิบัติงาน 1.9 ภารกิจถ่ายโอนที่มีขอบเขตการให้บริการเกินกว่าเขตพื้นที่ของ อปท. ที่รับโอน เมื่อได้รับโอนแล้วต้องจัดบริการให้ได้เช่นเดิม 1.10 อปท. ต้องยึดหลักเกณฑ์การบริหารจัดการที่ดี 1.11 มีมาตรการลงโทษทางสังคม กรณีที่ อปท. ไม่ปฏิบัติตามอำนาจ หน้าที่และภารกิจที่ถ่ายโอน
48
2. แผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ 2)
2.1 แผนปฏิบัติการถ่ายโอนภารกิจ 1) เพิ่มภารกิจถ่ายโอนใหม่ 44 ภารกิจ เช่น ทะเบียนครอบครัวและทะเบียนชื่อ บุคคล, การศึกษาขั้นอาชีวศึกษา, การควบคุมแรงงานต่างด้าว, การกำหนดมาตรฐานอุตสาหกรรม, การเดินเรือโดยสาร, การดูแลชลประทาน ขนาดเล็ก, การก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ ฯลฯ 2) ปรับปรุงขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติในการถ่ายโอนระหว่าง หน่วยงานผู้โอนกับ อปท. ที่รับโอนให้ชัดเจนขึ้น 3) ให้ส่วนราชการที่ถ่ายโอน และ อปท. ที่รับโอน ทำแผน ถ่ายโอนและแผนรองรับการถ่ายโอนให้ชัดเจนก่อนการดำเนินการ 4) เมื่อมีการถ่ายโอนแล้วหาก อปท. นั้นไม่สามารถดำเนินการได้ ให้ร่วมมือกับ อปท. อื่น หรือจัดตั้งสหการหรือขอให้ อบจ. สนับสนุน
49
2.2 แผนปฏิบัติการด้านการเงินการคลัง
- ส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนเดิม - มีการกำหนดแนวทางปฏิบัติกรณีที่คณะกรรมาธิการงบประมาณขอแปรญัตติปรับลดงบประมาณของ อปท. ลง โดยให้ส่วนราชการขอแปรญัตติเพิ่มเติมในโครงการที่ ครม. เห็นชอบหรือโครงการที่ กกถ. มีมติ
50
2.3 แผนปฏิบัติการด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง
2.3 แผนปฏิบัติการด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง 1) เป็นแผนปฏิบัติการที่จัดทำขึ้นใหม่ 2) กำหนดแนวทางในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ อปท. ให้มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดและประเทศ และ การใช้งบประมาณของ อปท. 3) ให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้และการคำนวณหาต้นทุนรายจ่ายในการบริการสาธารณะของ อปท. 4) ให้มีการพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้าง การบัญชีและฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท.
51
2.4 แผนปฏิบัติการกำหนดการถ่ายโอนบุคลากร
1) เปลี่ยนหลักการจาก “งานไป เงินไป คนไป” เป็น “งานไป เงินไป ตำแหน่งไป” 2) เน้นหลักการตามระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล และให้มีมาตรฐานใกล้เคียงกับมาตรฐานของเจ้าหน้าที่ ของรัฐอื่นๆ
52
2.5 แผนปฏิบัติการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
1) เป็นแผนปฏิบัติการที่จัดทำขึ้นใหม่ 2) เนื้อหาเกี่ยวกับการให้การเรียนรู้แก่ประชาชน, การรวมกลุ่มของประชาชน, การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชนและให้ อปท. จัดทำแผนปฏิบัติการมีส่วนร่วม ของประชาชน
53
2.6 แผนปฏิบัติการด้านปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
1) ให้ส่วนราชการที่รักษาการตามกฎหมาย เป็นผู้เสนอขอแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอน 2) ให้ อปท. มีส่วนร่วมในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายทุกขั้นตอน 3) เมื่อ อปท. รับโอนภารกิจและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นให้มีการขยายขอบเขตภารกิจและอำนาจตามกฎหมายให้ อปท .มากขึ้น
54
ทิศทางในอนาคตของ อปท. การกระจายอำนาจที่เน้นความรับผิดชอบ และประสิทธิภาพ ระบบการจัดสรรงบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน - รัฐบาล ส่วนกลาง อปท. - จังหวัด อปท. การให้ความรู้ + ข้อมูลข่าวสาร ระบบการกำกับดูแล ภาคประชาชน ระบบการบริการที่รวดเร็ว อิงฐานข้อมูล และ IT มาตรฐานการทำงาน ความร่วมมือกันในการจัดบริการสาธารณะ
55
ผลจากการกระจายอำนาจ รัฐ ทำหน้าที่ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนกระบวนการการกระจายอำนาจอย่างต่อเนื่อง ท้องถิ่นต้องทำหน้าที่เป็นผู้บริหารจัดการด้วยตนเอง ประชาชนมีส่วนร่วมในด้านต่างๆ มากยิ่งขึ้น บริการต่างๆ เป็นไปโดยตอบสนองความต้องการ ของประชาชน อปท. มีความเข้มแข็งมากขึ้น และเข้าใจบทบาท หน้าที่ของตนเองยิ่งขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.