ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยชิด เก่งงาน ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการพัฒนางาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพเครือข่าย บริการปฐมภูมิ
2
Flow Chart การถ่ายทอดนโยบาย
เริ่ม รับนโยบายและแนวทางปฏิบัติ จากกระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์นโยบายและประยุกต์ปรับใช้ให้เข้ากับองค์กร 3 ธงนำ 4 เข็มมุ่ง ธงนำที่ ๑ ลดคนป่วย ธงนำที่ ๒เพิ่มคนสุขภาพดี ธงนำที่ ๓ ขยายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เข็มมุ่งที่ ๑ พัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan เข็มมุ่งที่ ๒ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับ เข็มมุ่งที่ ๓พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงและมีความสุข เข็มมุ่งที่ ๔ พัฒนาการ Implement งานในพื้นที่ให้เกิด Impact C A N D O 1.Self care 1. เรียนรู้และรู้จักกัน 2. Empowerment 3. เพิ่มผลคุณภาพบริการ 4. ยกระดับบริการ ลดโรค ลดตาย ลดแทรกซ้อน รพ./สสอ./รพ.สต. เครือข่ายสุขภาพ/อสม. อปท./ประชาชนในพื้นที่ 2. Accessibility to essential Care
3
ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การกำหนดทิศทางอย่างชัดเจน การนำองค์กร วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) การปรับทิศทางด้านสุขภาพ นโยบายรัฐบาล สถานการณ์ด้านสุขภาพของประชาชนในอนาคต ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นโยบายกระทรวง ความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน นโยบายจังหวัด การกำหนดยุทธศาสตร์ กำหนดทิศทางการทำงานของสำนักงานสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด ประกาศนโยบาย ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กำหนดเป้าประสงค์ กำหนดยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ การปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี ธงนำที่ ๑ ลดคนป่วย เข็มมุ่งที่ ๑ พัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan เข็มมุ่งที่ ๓ พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงและมีความสุข ธงนำที่ ๒เพิ่มคนสุขภาพดี เข็มมุ่งที่ ๒ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับ เข็มมุ่งที่ ๔ พัฒนาการ Implement งานในพื้นที่ให้เกิด Impact ธงนำที่ ๓ ขยายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน การควบคุมยุทธศาสตร์ ติดตามและนิเทศการปฏิบัติงาน ประเมินผลความก้าวหน้ายุทธศาสตร์ สิ้นสุด ณ 31 ส.ค.
4
สรุปผลการตรวจเยี่ยม/ประเมินมาตรฐาน รพ.สต.
ประเด็นการเยี่ยม รพ.สต. ด้านการสื่อสารนโยบาย ด้านแผนปฏิบัติการสู่ผลสัมฤทธิ์ นโยบาย 3 ธงนำ ด้านการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ด้านการบรูณาการงานด้านสาธารณสุขระหว่าง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชุมชน
5
สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต.
ด้านการสื่อสารนโยบาย เมื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ด้านการสื่อสารนโยบาย พบว่า หน่วยบริการปลายทางของนโยบาย (รพ.สต.) ส่วนใหญ่ ได้รับนโยบายจากการประชุมระดับจังหวัดและอำเภอ และมีรูปแบบการดำเนินงานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน นอกจากนี้ พบความเสี่ยง 3 เรื่องหลัก ดังนี้ 1. การจัดการด้านข้อมูลคัดกรอง DM/HT มีหน่วยบริการบางแห่งไม่สามารถจำแนกสีได้ถูกต้อง ซึ่งต้องย้อนกลับมาพิจารณาถึงแนวทางการดำเนินงาน คำนิยาม ที่ส่งมอบให้กับหน่วยบริการ 2. การเพิ่มพูนทักษะกับทีมสุขภาพ มีการแสดงผลการวิเคราะห์ส่วนขาดในบางแห่ง แต่ไม่พบแนวทางการพัฒนาและเพิ่มพูนทักษะที่จำเป็นในประเด็นปัญหา ซึ่งอาจ GAP ในการสื่อสารแนวทางระหว่างจังหวัดและอำเภอ
6
สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต.
ด้านการสื่อสารนโยบาย 3. มีการจำแนกกลุ่มเป้าหมาย WECANDO แต่ไม่เห็นกระบวนการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมาย WECANDO ชัดเจน ด้านแผนปฏิบัติการสู่ผลสัมฤทธิ์ นโยบาย 3 ธงนำ พบว่า มีการดำเนินการในรูปแบบ Routine ไม่สามารถแสดงให้เห็นกระบวนการที่จะส่งผลให้ นโยบาย 3 ธงนำ สำเร็จได้ เมื่อพิจารณาจากแผนปฏิบัติการที่หน่วยบริการนำเสนอ
7
สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต.
ด้านการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พบว่า การใช้กรอบพัฒนา DHS สามารถทำให้หน่วยบริการสาธารณสุขมีมุมมองในการพัฒนาพื้นที่รับผิดชอบร่วมกันได้ ถึงแม้ยังไม่สามารถเห็นเป็นรูปธรรมภายในระยะเวลาอันสั้น แต่ถ้าพิจารณาแผนระยะยาวอาจมีผลลัพธ์ที่พึ่งพอใจ
8
สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต.
ด้านการบูรณาการงานด้านสาธารณสุขระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชุมชน ในการดำเนินการประเด็นนี้ให้สำเร็จ ขึ้นอยู่ที่ ต้นทุนทางสังคมของประชาชนในชุมชนที่ตระหนักถึงภัยสุขภาพ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุนการดำเนินงานของชุมชน เช่น รพ.สต.บ้านค้อ รพ.สต. สาวะถี รพ.สต. ดอนช้าง เป็นต้น
9
ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS
เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 1 การนำองค์กร องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา การพัฒนามาตรฐานบริหารจัดการที่มีคุณภาพ 1.1 คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา 1.2 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก 1.3 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 1.4 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) 1.5 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
10
ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS
เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ องค์ประกอบที่ แผนการดำเนินงาน สุขศึกษา แผนพัฒนาผลงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 2.1 การวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ - แผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ - แผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประสานงานให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผน/ทำกิจกรรมสาธารณสุข 3.1 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 3.2 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ (Resource sharing) สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจากองค์กรชุมชน/ท้องถิ่น 3.3 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ (Resource sharing)
11
ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS
เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ องค์ประกอบที่ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขศึกษา ใช้บันทึกสุขภาพรายบุคคล 4.1 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 4.2 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยที่เกี่ยวกับสุขศึกษา นวัตกรรมด้านต่างๆ ในศูนย์สุขภาพชุมชน/การดำเนินงานวิจัยในพื้นที่ 4.3 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษา ทีมสุขภาพให้การบริการต่อเนื่องเป็นทีมประจำ 5.1 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากรต่อเนื่องแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 5.2 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 5.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 5.4 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 5.5 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ
12
ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS
เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 6 การจัดการกระบวนการ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษา แนวทาง กระบวนการ มาตรฐาน คู่มือการให้บริการ ทุกกลุ่มอาการ 6.1 การทำกิจกรรมด้านสุขภาพ องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ประสานงานให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผน/ทำกิจกรรมสาธารณสุข 6.2 กระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม องค์ประกอบที่ 6 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานสุขศึกษา (สนับสนุน CUP) สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจากองค์กรชุมชน/ท้องถิ่น หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ องค์ประกอบที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษา ประเมินผลงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 7.1 ผลลัพธ์เป็นรูปธรรม
13
แผน DHS ของอำเภอเราเป็นอย่างไร ?
ประเด็นพัฒนา บริการหลักที่ควรมี ผู้รับบริการ WECANDO ผู้มีส่วนร่วม WHO? ผลลัพธ์ กิจกรรมด้านบริหารจัดการ กิจกรรมด้านพัฒนาบุคลากร กิจกรรมด้านการมีส่วนร่วมในชุมชน
14
รายงานผลการดำเนินงาน PMQA
1 . อธิบายสภาพปัญหา และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะเริ่มการปรับปรุง (อธิบายความเป็นมา ปัญหา โดยให้เขียนประเด็นที่หัวใจสำคัญ รวมถึงกลุ่มที่ได้รับผลกระทบ) 2 .อธิบายทิศทางและนโยบาย ของคณะกรรมการ DHS อำเภอกำหนด เช่น วัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมร่วม และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มดำเนินงาน DHS เพื่อแสดงถึงแก้ปัญหาตามข้อ 1 โดยให้นำเสนอประเด็นที่เป็นหัวใจสำคัญ แนวโน้ม และเงื่อนไขของสถานการณ์ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบด้วยคณะกรรมการ DHS ระดับอำเภอ
15
รายงานผลการดำเนินงาน PMQA
3. แนวทางและกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ (สรุปวัตถุประสงค์หลักและกลยุทธ์ที่ใช้ว่ามีวิธีการอย่างไร ในการจัดบริการหลัก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ผสมผสาน ต่อเนื่องของประชาชน แสดง Flowchart การให้บริการแบบใหม่ที่ปรับปรุงจากแบบเดิม) 4 . ระบุผู้นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ผู้ดำเนินการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการของคณะกรรมการ DHS (ระบุว่าใครมีส่วนร่วมในการออกแบบบริการหลักที่สำคัญในกระบวนการ และผู้เกี่ยวข้องดำเนินการอย่างไรบ้าง)
16
รายงานผลการดำเนินงาน PMQA
5. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ODOP (อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยให้อธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพ และ ใครคือผู้รับประโยชน์) 6 . อธิบายขั้นตอนของบริการหลักที่กำหนดและการนำไปปฏิบัติ 6.1 ลำดับขั้นตอนในการพัฒนา 6.2 ลำดับเหตุการณ์ดำเนินการหลักในการปฏิบัติ
17
รายงานผลการดำเนินงาน PMQA
7. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหา (อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยให้อธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพ และ ใครคือผู้รับประโยชน์) 8 . การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปสู่บริการอื่นๆ (อธิบายถึงวิธีการที่ทำให้เกิดความยั่งยืน และให้อธิบายว่าหากบริการนี้เผยแพร่สู่สาธารณะจะสามารถนำมาขยายผลได้อย่างไร) 9. บทเรียนที่ได้รับ คืออะไร (อธิบายองค์ประกอบหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จ)
18
การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
19
เข้าเว็บไซต์กองสุขศึกษา http://www.hed.go.th
คลิกแบนเนอร์ มาตรฐานงานสุขศึกษา
21
เลือกประเมินตนเอง ตามระดับสถานบริการ
22
หน่วยบริการ บันทึกข้อมูล
1.) รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก ) Password (ใช้รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก) ) เลือกปีงบประมาณที่ต้องการประเมิน ) กดปุ่ม ขอประเมินตนเอง
23
ตรวจสอบความถูกต้องของชื่อสถานบริการ ก่อนทำแบบประเมิน
24
โปรดอ่าน * เงื่อนไขการประเมินตนเอง (ตัวสีแดง)ให้เข้าใจ
25
เข้าสู่กระบวนการประเมินฯ ตามองค์ประกอบที่ 1-10
คลิกเลือกบันทึกให้ ครบทุกเกณฑ์ ใส่หลักฐานหรือ ข้อมูลยืนยัน กดปุ่ม บันทึก ด้วยทุกครั้ง เสร็จสิ้นการประเมินตามตัวชี้วัดในแต่ละองค์ประกอบ
26
สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล
เลือก ส่งแบบประเมินตนเอง ยืนยันการส่งแบบประเมิน สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล เพื่อเก็บเป็นหลักฐาน ระบบจะแสดง ผลการประเมินตนเอง
27
ตัวอย่างการแสดง ผลการประเมินตนเอง
28
ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ฯ ที่ผ่านการประมวลผลโดยระบบอัตโนมัติของโปรแกรมหลังเสร็จสิ้นการบันทึกข้อมูล
29
แบบสรุปผลการประเมินภาพรวม แสดงระดับการประเมินของสถานบริการสุขภาพว่าอยู่ในระดับใด
30
การขอรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา
ดำเนินการตรวจประเมินเพื่อรับรอง โดยองค์กรภายนอก ดำเนินการโดยความสมัครใจของ สถานบริการ ขั้นตอน/กระบวนการขอรับรอง มาตรฐาน
31
จัดทำฐานข้อมูล การตรวจประเมินภายในองค์กร
กระบวนการ รับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา สถานบริการสุขภาพ คณะกรรมการตรวจสอบ ระดับจังหวัด สถานบริการสุขภาพดำเนินการ และประเมินตนเอง ผลประเมินอยู่ในระดับ 3 ดีมาก จัดทำฐานข้อมูล ติดตามผลการดำเนินงาน 3 3 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ 1 การตรวจประเมินภายในองค์กร กองสุขศึกษา ผลการพิจารณาจาก คกก. ระดับจังหวัด 2 ถูกต้อง ไม่ผ่านความเห็นชอบ A 4 น คณะอำนวยการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ตรวจสอบ ความถูกต้องของเอกสาร 8 5 ประกาศผล/เผยแพร่ มอบใบรับรอง ฯ การตรวจประเมินรับรองโดยองค์กรภายนอก ถูกต้อง 9 ผลการรับรอง รายงานผลการตรวจประเมินให้สมาคมฯ ทราบ 6 ผ่าน มอบ คณะกรรมกาดำเนินการตรวจประเมินเพื่อรับรอง ไม่ผ่าน 7 A กองสุขศึกษา
32
Thank You !
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.